แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพและ Em ball)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพและ Em ball) ”
ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุกัลยา ดวงภักดี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพและ Em ball)
ที่อยู่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5215-1-12.2 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพและ Em ball) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพและ Em ball)
บทคัดย่อ
โครงการ " แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพและ Em ball) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5215-1-12.2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 98,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นในพื้นที่ตำบลเขารูปช้าง เนื่องจากอัตราการเพิ่มขึ้นของประชากรซึ่งประกอบด้วยประชากรตามทะเบียนราษฎร์ ประชากรแฝง และประชากรผู้เดินทางไปเช้าเย็นกลับ ส่งผลให้ปริมาณขยะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในขณะที่กระบวนการจัดการขยะพัฒนาไปไม่ทันกับปริมาณของขยะ ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนและของเสียอันตรายในพื้นที่ตำบลเขารูปช้าง จากประชากร 40,336 คน อัตราการเกิดขยะมูลฝอย 35 ตัน/วัน จึงเป็นภาระหนักของในการบริหารจัดการกำจัดขยะเหล่านั้น ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นมากมายทุกวัน ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสภาพความเป็นอยู่ในชุมชนมากมาย ได้แก่ บ้านเมืองสกปรกไม่น่ามอง เสียทัศนียภาพ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ และพาหะนำโรคต่าง ๆ เช่น หนู แมลงสาบ แมลงวัน ทั้งยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคโดยตรง เช่น อหิวาตกโรค อุจจาระร่วง บิด โรคผิวหนัง บาดทะยัก โรคทางเดินหายใจเกิดการปนเปื้อนของสารพิษ เช่น ตะกั่ว ปรอท ลงสู่พื้นดิน และแหล่งน้ำ แหล่งน้ำเน่าเสีย ท่อระบายน้ำอุดตัน อันเป็นสาเหตุของปัญหาน้ำท่วม เป็นแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นละออง เขม่า ควัน จากการเผาขยะ และเกิดก๊าชมีเทนจากการฝังกลบขยะ และขยะบางชนิดไม่ย่อยสลาย และกำจัดได้ยาก เช่น โฟม พลาสติก ทำให้ตกค้างสู่สิ่งแวดล้อม
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเขารูปช้าง จึงมีแนวความคิดที่จะนำขยะที่เหลือใช้ เช่น เปลือกส้ม เปลือกสัปปะรด และเศษผักต่าง ๆ นำมาผลิตเป็นน้ำหมักชีวภาพ อีกทั้งเพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทิ้งขยะมูลฝอย แก้ไขปัญหาขยะอินทรีย์ที่ส่งกลิ่นเหม็นเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี ยังช่วยลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม และปัญหาต่อสุขภาพของประชาชนด้วย จึงมีแนวคิดรณรงค์ให้ประชาชน หันมาให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อม ปัจจุบันมีการรณรงค์ลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะจากเศษอาหาร ให้มีความสนใจและนำไปปรับใช้อย่างยั่งยืนมากขึ้น จึงหันมาใช้สิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติที่อยู่ใกล้ตัว มาทดลองและประยุกต์ให้เกิดประโยชน์มากขึ้น จึงได้จัดทำโครงการ แก้ไขปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมอบรมการทําน้ำหมักชีวภาพ และ EM Ball
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเรียนรู้และศึกษาวิธีการทําน้ำหมักชีวภาพ และ EM Ball
- ส่งเสริมให้มีจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนที่ยั่งยืน ลดปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมเชิงปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพและEM Ball
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการทําน้ำหมักชีวภาพ และ EM Ball หลังการอบรม
2 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนที่ยั่งยืน ลดปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมเชิงปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพและEM Ball
วันที่ 5 กันยายน 2560กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมวางแผนในการดำเนินงานโครงการสาธิตวิธีการทําน้ําหมักชีวภาพ EM ball
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลการดำเนินโครงการจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพบรรลุตามวัตถุประสงค์
100
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเรียนรู้และศึกษาวิธีการทําน้ำหมักชีวภาพ และ EM Ball
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการทําน้ำหมักชีวภาพ และ EM Ball หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ ๘๐
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนที่ยั่งยืน ลดปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ร้อยละ ๕๐ ของหมู่บ้านที่เข้ารับการอบรม
2
ส่งเสริมให้มีจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนที่ยั่งยืน ลดปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเรียนรู้และศึกษาวิธีการทําน้ำหมักชีวภาพ และ EM Ball (2) ส่งเสริมให้มีจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนที่ยั่งยืน ลดปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเชิงปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพและEM Ball
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพและ Em ball) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5215-1-12.2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสุกัลยา ดวงภักดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพและ Em ball) ”
ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุกัลยา ดวงภักดี
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5215-1-12.2 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพและ Em ball) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพและ Em ball)
บทคัดย่อ
โครงการ " แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพและ Em ball) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5215-1-12.2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 98,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นในพื้นที่ตำบลเขารูปช้าง เนื่องจากอัตราการเพิ่มขึ้นของประชากรซึ่งประกอบด้วยประชากรตามทะเบียนราษฎร์ ประชากรแฝง และประชากรผู้เดินทางไปเช้าเย็นกลับ ส่งผลให้ปริมาณขยะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในขณะที่กระบวนการจัดการขยะพัฒนาไปไม่ทันกับปริมาณของขยะ ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนและของเสียอันตรายในพื้นที่ตำบลเขารูปช้าง จากประชากร 40,336 คน อัตราการเกิดขยะมูลฝอย 35 ตัน/วัน จึงเป็นภาระหนักของในการบริหารจัดการกำจัดขยะเหล่านั้น ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นมากมายทุกวัน ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสภาพความเป็นอยู่ในชุมชนมากมาย ได้แก่ บ้านเมืองสกปรกไม่น่ามอง เสียทัศนียภาพ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ และพาหะนำโรคต่าง ๆ เช่น หนู แมลงสาบ แมลงวัน ทั้งยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคโดยตรง เช่น อหิวาตกโรค อุจจาระร่วง บิด โรคผิวหนัง บาดทะยัก โรคทางเดินหายใจเกิดการปนเปื้อนของสารพิษ เช่น ตะกั่ว ปรอท ลงสู่พื้นดิน และแหล่งน้ำ แหล่งน้ำเน่าเสีย ท่อระบายน้ำอุดตัน อันเป็นสาเหตุของปัญหาน้ำท่วม เป็นแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นละออง เขม่า ควัน จากการเผาขยะ และเกิดก๊าชมีเทนจากการฝังกลบขยะ และขยะบางชนิดไม่ย่อยสลาย และกำจัดได้ยาก เช่น โฟม พลาสติก ทำให้ตกค้างสู่สิ่งแวดล้อม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเขารูปช้าง จึงมีแนวความคิดที่จะนำขยะที่เหลือใช้ เช่น เปลือกส้ม เปลือกสัปปะรด และเศษผักต่าง ๆ นำมาผลิตเป็นน้ำหมักชีวภาพ อีกทั้งเพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทิ้งขยะมูลฝอย แก้ไขปัญหาขยะอินทรีย์ที่ส่งกลิ่นเหม็นเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี ยังช่วยลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม และปัญหาต่อสุขภาพของประชาชนด้วย จึงมีแนวคิดรณรงค์ให้ประชาชน หันมาให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อม ปัจจุบันมีการรณรงค์ลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะจากเศษอาหาร ให้มีความสนใจและนำไปปรับใช้อย่างยั่งยืนมากขึ้น จึงหันมาใช้สิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติที่อยู่ใกล้ตัว มาทดลองและประยุกต์ให้เกิดประโยชน์มากขึ้น จึงได้จัดทำโครงการ แก้ไขปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมอบรมการทําน้ำหมักชีวภาพ และ EM Ball
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเรียนรู้และศึกษาวิธีการทําน้ำหมักชีวภาพ และ EM Ball
- ส่งเสริมให้มีจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนที่ยั่งยืน ลดปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมเชิงปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพและEM Ball
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการทําน้ำหมักชีวภาพ และ EM Ball หลังการอบรม 2 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนที่ยั่งยืน ลดปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมเชิงปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพและEM Ball |
||
วันที่ 5 กันยายน 2560กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมวางแผนในการดำเนินงานโครงการสาธิตวิธีการทําน้ําหมักชีวภาพ EM ball ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลการดำเนินโครงการจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพบรรลุตามวัตถุประสงค์
|
100 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเรียนรู้และศึกษาวิธีการทําน้ำหมักชีวภาพ และ EM Ball ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการทําน้ำหมักชีวภาพ และ EM Ball หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ ๘๐ กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนที่ยั่งยืน ลดปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ร้อยละ ๕๐ ของหมู่บ้านที่เข้ารับการอบรม |
|
|||
2 | ส่งเสริมให้มีจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนที่ยั่งยืน ลดปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเรียนรู้และศึกษาวิธีการทําน้ำหมักชีวภาพ และ EM Ball (2) ส่งเสริมให้มีจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนที่ยั่งยืน ลดปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเชิงปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพและEM Ball
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพและ Em ball) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5215-1-12.2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสุกัลยา ดวงภักดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......