กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง


“ โครงการค่ายเยาวชนรักสุขภาพต้านภัยอบายมุข ปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
๑.นายกูมูสอด กูหลง ๒. นายหมาด ตำสำสู ๓. นายกูเส็น บิสนุม

ชื่อโครงการ โครงการค่ายเยาวชนรักสุขภาพต้านภัยอบายมุข ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L8409-02-27 เลขที่ข้อตกลง 23/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการค่ายเยาวชนรักสุขภาพต้านภัยอบายมุข ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการค่ายเยาวชนรักสุขภาพต้านภัยอบายมุข ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการค่ายเยาวชนรักสุขภาพต้านภัยอบายมุข ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L8409-02-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,320.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมไทยในปัจจุบันนี้เป็นที่ยอมรับกันว่ามีความเจริญก้าวหน้าในการพัฒนาประเทศด้านเทคโนโลยี จนก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงหลายด้าน ประชาชนส่วนใหญ่ได้รับความสะดวกสบายทางวัตถุมากขึ้น ขณะเดียวกันความเสื่อมทางด้านจิตใจก็ทวีความรุนแรงมากขึ้นจนน่าวิตก ดังนั้นเพื่อให้เยาวชนเติบโตด้วยคุณภาพและเต็มเปี่ยมด้วยคุณธรรม จึงเห็นควรนำ นักเรียนเข้าค่ายอบรมคุณธรรมจริยธรรม ตามแนวทางของศาสนาให้รู้จักความคุมตนเอง รู้จัก ลด ละ เลิก สิ่งที่ไม่ดีงาม มุ่งประพฤติแต่สิ่งที่ดีงาม รู้หน้าที่ตนเองนำหลักทางศาสนามาใช้เป็นแนวทางปฏิบัติตนในชีวิตประจำวันได้ จึงเป็นหน้าที่ที่ ศูนย์ตาดีกา ญามีอุ้ลอิควานียะห์ บ้านทุ่ง ต้องหาวิธีการป้องกันและแก้ไขปัญหาของนักเรียน โดยการพัฒนาจิตใจโดยโครงการค่ายเยาวชนรักสุขภาพต้านภัยอบายมุข ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่ดีงามในแบบของอิสลาม เพื่อจะได้เติบโตเป็นคนดีมีคุณภาพ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขรวมถึงเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนได้รับการพัฒนาจิตใจอยู่บนพื้นฐานของคุณธรรม จริยธรรม ทั้งในด้านระเบียบวินัย ขยัน อดทน ซื่อสัตย์ สุจริต รับผิดชอบ กตัญญูกตเวทีและมีจิตสาธารณะและเพื่อเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้ประโยชน์ในการใช้เวลาว่างด้วยการฝึกฝนอบรมตนเองให้เป็นผู้นำที่ดีและมีความสามารถซึ่งเป็นที่ต้องการของสังคมยุคปัจจุบัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. กิจกรรมเข้าค่าย จะทำให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้การใช้ชีวิตกลางแจ้ง การออกกำลังกาย เพื่อให้ร่างกายแข็งแรง 2. กิจกรรมให้ความรู้ด้านสุขภาพอนามัย การปฏิบัติตนเพื่อให้ปลอดภัยจากยาเสพติด และอบายมุขต่างๆ 3. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ให้เยาวชนได้ละลายพฤติกรรม และปรับแนวความคิดการทำงานร่วมเป็นหมู่คณะ สร้าง ความสัมพันธ์กับชุมชน 4. นำหลักทางศาสนา มาเป็นหลักการดำเนินชีวิต เพื่อสุขภาพจิตที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพ และการปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง และต่อเนื่องไม่น้อย กว่าร้อยละ 80     2. นักเรียนเข้าร่วมอบรมและทำกิจกรรมการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม อย่างมีความสุข
          3. นักเรียนประพฤติปฏิบัติตน ดำเนินชีวิต และเคารพกฏ เป็นแบบอย่างที่ดีงามทั้งในด้านระเบียบวินัย ขยัน       อดทน ซื่อสัตย์ สุจริต รับผิดชอบ และกตัญญูกตเวที     4. นักเรียนใช้เวลาว่างในการฝึกฝนอบรมตนเองให้เป็นผู้นำที่ดีและมีความสามารถ     5. นักเรียนสามรถท่องจำ และมีความรู้ความเข้าใจตามที่กำหนดในคู่มือ พร้อมทั้งสมารถนำไปใช้ในการปฏิบัติ       ศาสนากิจตามคำสั่งใช้ของศาสนาได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 กิจกรรมเข้าค่าย จะทำให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้การใช้ชีวิตกลางแจ้ง การออกกำลังกาย เพื่อให้ร่างกายแข็งแรง 2. กิจกรรมให้ความรู้ด้านสุขภาพอนามัย การปฏิบัติตนเพื่อให้ปลอดภัยจากยาเสพติด และอบายมุขต่างๆ 3. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ให้เยาวชนได้ละลายพฤติกรรม และปรับแนวความคิดการทำงานร่วมเป็นหมู่คณะ สร้าง ความสัมพันธ์กับชุมชน 4. นำหลักทางศาสนา มาเป็นหลักการดำเนินชีวิต เพื่อสุขภาพจิตที่ดี
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กิจกรรมเข้าค่าย จะทำให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้การใช้ชีวิตกลางแจ้ง การออกกำลังกาย เพื่อให้ร่างกายแข็งแรง 2. กิจกรรมให้ความรู้ด้านสุขภาพอนามัย การปฏิบัติตนเพื่อให้ปลอดภัยจากยาเสพติด และอบายมุขต่างๆ 3. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ให้เยาวชนได้ละลายพฤติกรรม และปรับแนวความคิดการทำงานร่วมเป็นหมู่คณะ สร้าง    ความสัมพันธ์กับชุมชน 4. นำหลักทางศาสนา มาเป็นหลักการดำเนินชีวิต เพื่อสุขภาพจิตที่ดี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการค่ายเยาวชนรักสุขภาพต้านภัยอบายมุข ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 63-L8409-02-27

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ๑.นายกูมูสอด กูหลง ๒. นายหมาด ตำสำสู ๓. นายกูเส็น บิสนุม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด