แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(ตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(ตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค) ”
ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุกัลยา ดวงภักดี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(ตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค)
ที่อยู่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5215-1-12.1 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(ตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(ตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค)
บทคัดย่อ
โครงการ " แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(ตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5215-1-12.1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การตรวจสอบคุณภาพน้ำเป็นวิธีการที่ใช้บ่งบอกหรือตัดสินว่าคุณภาพน้ำมีคุณลักษณะ
เป็นอย่างไร ได้มาตรฐานหรือไม่ โดยการตรวจวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ การตรวจวิเคราะห์มีทั้งตรวจโดยห้องปฏิบัติการและตรวจโดยใช้ชุดทดสอบภาคสนาม ซึ่งจะใช้การตรวจแบบใดขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และความจำเป็นน้ำดื่มที่สะอาด จะช่วยให้มนุษย์มีสุขภาพอนามัยดี ในทางกลับกันถ้าน้ำดื่มไม่สะอาด มีการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ หรือโลหะหนัก ที่มีอยู่ตามธรรมชาติในแหล่งน้ำใต้ดิน ได้แก่ ตะกั่ว แคดเมียม สารหนู ฟลูออไรด์ ในพื้นที่ต่างๆ ของประเทศ และสุขอนามัยที่ไม่ถูกต้อง ทำให้เกิดการปนเปื้อนจากแหล่งของเสีย หรือกิจกรรมต่างๆ ส่งผลให้คุณภาพน้ำไม่สะอาดปลอดภัย และเป็นสื่อทำให้เกิดโรคได้
การจัดหาน้ำสะอาดจะส่งเสริม และป้องกันให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี และเอื้อให้เกิดประโยชน์ในด้านต่างๆ ต่อสาธารณะ ดังนี้
(1) ช่วยลดอัตราการเกิดโรคเนื่องจากน้ำเป็นพาหะ เพราะน้ำเป็นสื่อของโรคหลากหลายชนิด หากไม่มีการจัดหาน้ำสะอาดที่เพียงพอและเหมาะสม จะทำให้เกิดการแพร่กระจายเชื้อโรคได้ ดังนี้
ฟลูออไรด์ ถ้ามีมากเกินไปจะทำให้ฟันตกกระ (เป็นจุดดำ)
ไนเตรท ในเด็กทารกหากได้รับจะทำให้ร่างกายเกิดการขาดออกซิเจน มีอาการตัวเขียว และอาจทำให้ถึงแก่ความตายได้
ตะกั่ว ทารกเด็ก และหญิงมีครรภ์ เมื่อได้รับสารตะกั่วจำนวนมากในระยะเวลาสั้น ๆ จะมีอาการระคายเคืองกระเพาะและลำไส้ ชา เป็นตะคิว กล้ามเนื้ออ่อนเพลีย โลหิตจาง คันตามร่างกาย ถ้ากรณีได้รับสารตะกั่วจำนวนน้อยสะสมในร่างกาย จะมีอาการเบื่ออาหาร ท้องผูก ตะคิวหน้าท้อง อ่อนเพลีย เกิดการเสื่อมของสมอง
สารหนู ก่อให้เกิดโรคมะเร็งผิวหนัง มะเร็งปอด และมะเร็งที่ไต เป็นต้น
(2) ช่วยให้ประชาชนได้รับความสะดวก ทั้งในการอุปโภค บริโภค การใช้สำหรับกิจกรรม การผลิตการล้างทำความสะอาด ฯลฯ
(3) ช่วยให้การพัฒนาด้านอุตสาหกรรมรวดเร็วขึ้น ซึ่งน้ำเป็นทรัพยากรที่สำคัญมากในกระบวนการผลิต การผสม การทำเจือจาง การล้าง และกิจกรรมที่จำเป็นอื่นๆ
(4) ช่วยให้เกิดการพัฒนาด้านสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ได้เหมาะสม
(5) ช่วยให้เกิดความปลอดภัยในการดับเพลิงและสาธารณภัยอื่นๆ ในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้น เช่น ไฟไหม้ ภัยแล้ง น้ำท่วม ขาดแคลนน้ำบริโภค เป็นต้น
“พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496มาตรา ๕๐ กำหนดให้เทศบาลเมืองมีหน้าที่ป้องกันและระงับโรคติดต่อ มาตรา 53 กำหนดให้เทศบาลเมือง จัดทำกิจการให้มีน้ำสะอาด หรือ การประปา”กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเขารูปช้าง จึงได้จัดทําแก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ขึ้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวังน้ำอุปโภค เพื่อลดปัญหาการเจ็บป่วยจากโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อ และประชาชนมีน้ำอุปโภคที่สะอาด ปลอดภัย และมีสุขภาพดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวังน้ำอุปโภคบริโภคในพื้นที่ตำบลเขารูปช้าง
- เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยของประชาชนจากโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
40,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ทราบสถานการณ์และแนวโน้มของคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภคในพื้นที่ตำบลเขารูปช้าง
- ไม่พบผู้ป่วยจากโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค
วันที่ 8 กันยายน 2560กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการเก็บตัวอย่างน้ำอุปโภค-บริโภคส่งตรวจสอบคุณภาพน้ำทางห้องปฏิบัติการ หมู่ที่ 1-10
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การดำเนินโครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเฝ้าระวังน้ำอุปโภคบริโภคในพื้นที่ตำบลเขารูปช้าง
ตัวชี้วัด : ทราบสถานการณ์และแนวโน้มของคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภคในพื้นที่ตำบลเขารูปช้างไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00
2
เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยของประชาชนจากโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อ
ตัวชี้วัด : ไม่พบผู้ป่วยจากโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อรายงานจากโรคระบาดโรงพยาบาลสงขลาและโรงพยาบาลอื่นๆ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40000
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
40,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังน้ำอุปโภคบริโภคในพื้นที่ตำบลเขารูปช้าง (2) เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยของประชาชนจากโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(ตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5215-1-12.1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสุกัลยา ดวงภักดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(ตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค) ”
ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุกัลยา ดวงภักดี
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5215-1-12.1 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(ตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(ตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค)
บทคัดย่อ
โครงการ " แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(ตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5215-1-12.1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การตรวจสอบคุณภาพน้ำเป็นวิธีการที่ใช้บ่งบอกหรือตัดสินว่าคุณภาพน้ำมีคุณลักษณะ
เป็นอย่างไร ได้มาตรฐานหรือไม่ โดยการตรวจวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ การตรวจวิเคราะห์มีทั้งตรวจโดยห้องปฏิบัติการและตรวจโดยใช้ชุดทดสอบภาคสนาม ซึ่งจะใช้การตรวจแบบใดขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และความจำเป็นน้ำดื่มที่สะอาด จะช่วยให้มนุษย์มีสุขภาพอนามัยดี ในทางกลับกันถ้าน้ำดื่มไม่สะอาด มีการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ หรือโลหะหนัก ที่มีอยู่ตามธรรมชาติในแหล่งน้ำใต้ดิน ได้แก่ ตะกั่ว แคดเมียม สารหนู ฟลูออไรด์ ในพื้นที่ต่างๆ ของประเทศ และสุขอนามัยที่ไม่ถูกต้อง ทำให้เกิดการปนเปื้อนจากแหล่งของเสีย หรือกิจกรรมต่างๆ ส่งผลให้คุณภาพน้ำไม่สะอาดปลอดภัย และเป็นสื่อทำให้เกิดโรคได้
การจัดหาน้ำสะอาดจะส่งเสริม และป้องกันให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี และเอื้อให้เกิดประโยชน์ในด้านต่างๆ ต่อสาธารณะ ดังนี้
(1) ช่วยลดอัตราการเกิดโรคเนื่องจากน้ำเป็นพาหะ เพราะน้ำเป็นสื่อของโรคหลากหลายชนิด หากไม่มีการจัดหาน้ำสะอาดที่เพียงพอและเหมาะสม จะทำให้เกิดการแพร่กระจายเชื้อโรคได้ ดังนี้
ฟลูออไรด์ ถ้ามีมากเกินไปจะทำให้ฟันตกกระ (เป็นจุดดำ)
ไนเตรท ในเด็กทารกหากได้รับจะทำให้ร่างกายเกิดการขาดออกซิเจน มีอาการตัวเขียว และอาจทำให้ถึงแก่ความตายได้
ตะกั่ว ทารกเด็ก และหญิงมีครรภ์ เมื่อได้รับสารตะกั่วจำนวนมากในระยะเวลาสั้น ๆ จะมีอาการระคายเคืองกระเพาะและลำไส้ ชา เป็นตะคิว กล้ามเนื้ออ่อนเพลีย โลหิตจาง คันตามร่างกาย ถ้ากรณีได้รับสารตะกั่วจำนวนน้อยสะสมในร่างกาย จะมีอาการเบื่ออาหาร ท้องผูก ตะคิวหน้าท้อง อ่อนเพลีย เกิดการเสื่อมของสมอง
สารหนู ก่อให้เกิดโรคมะเร็งผิวหนัง มะเร็งปอด และมะเร็งที่ไต เป็นต้น
(2) ช่วยให้ประชาชนได้รับความสะดวก ทั้งในการอุปโภค บริโภค การใช้สำหรับกิจกรรม การผลิตการล้างทำความสะอาด ฯลฯ
(3) ช่วยให้การพัฒนาด้านอุตสาหกรรมรวดเร็วขึ้น ซึ่งน้ำเป็นทรัพยากรที่สำคัญมากในกระบวนการผลิต การผสม การทำเจือจาง การล้าง และกิจกรรมที่จำเป็นอื่นๆ
(4) ช่วยให้เกิดการพัฒนาด้านสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ได้เหมาะสม
(5) ช่วยให้เกิดความปลอดภัยในการดับเพลิงและสาธารณภัยอื่นๆ ในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้น เช่น ไฟไหม้ ภัยแล้ง น้ำท่วม ขาดแคลนน้ำบริโภค เป็นต้น
“พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496มาตรา ๕๐ กำหนดให้เทศบาลเมืองมีหน้าที่ป้องกันและระงับโรคติดต่อ มาตรา 53 กำหนดให้เทศบาลเมือง จัดทำกิจการให้มีน้ำสะอาด หรือ การประปา”กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเขารูปช้าง จึงได้จัดทําแก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ขึ้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวังน้ำอุปโภค เพื่อลดปัญหาการเจ็บป่วยจากโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อ และประชาชนมีน้ำอุปโภคที่สะอาด ปลอดภัย และมีสุขภาพดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวังน้ำอุปโภคบริโภคในพื้นที่ตำบลเขารูปช้าง
- เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยของประชาชนจากโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40,000 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ทราบสถานการณ์และแนวโน้มของคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภคในพื้นที่ตำบลเขารูปช้าง
- ไม่พบผู้ป่วยจากโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค |
||
วันที่ 8 กันยายน 2560กิจกรรมที่ทำดำเนินการเก็บตัวอย่างน้ำอุปโภค-บริโภคส่งตรวจสอบคุณภาพน้ำทางห้องปฏิบัติการ หมู่ที่ 1-10 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการดำเนินโครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเฝ้าระวังน้ำอุปโภคบริโภคในพื้นที่ตำบลเขารูปช้าง ตัวชี้วัด : ทราบสถานการณ์และแนวโน้มของคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภคในพื้นที่ตำบลเขารูปช้างไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยของประชาชนจากโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อ ตัวชี้วัด : ไม่พบผู้ป่วยจากโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อรายงานจากโรคระบาดโรงพยาบาลสงขลาและโรงพยาบาลอื่นๆ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40000 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40,000 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังน้ำอุปโภคบริโภคในพื้นที่ตำบลเขารูปช้าง (2) เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยของประชาชนจากโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
แก้ไขปัญหาสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่(ตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5215-1-12.1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสุกัลยา ดวงภักดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......