กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนในเขตรับผิดชอบคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวบ้านโพธิ์
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ คลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวบ้านโพธิ์
วันที่อนุมัติ 26 มิถุนายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2563 - 31 ธันวาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ธันวาคม 2563
งบประมาณ 9,950.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ คลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวบ้านโพธิ์
พี่เลี้ยงโครงการ นายกำพล เศรษฐสุข
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปากพะยูน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาโรคติดต่อ เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อมเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคติดต่อหลายชนิด เนื่องจากเชื้อโรคจะมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้นานขึ้น เจริญเติบโตได้รวดเร็ว สามารถแพร่ระบาดได้ง่ายและเร็ว เช่น โรคโควิด - 19 ไข้หวัดใหญ่ ไข้เลือดออก อุจจาระร่วง และโรคติดต่ออื่นๆ(มือ เท้า ปาก ฉี่หนู)โดยประชาชนจะต้องทราบถึงสาเหตุและแนวทางป้องกันโรคที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เพื่อให้ระมัดระวังและป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อโรค โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กเล็ก ผู้สู๔งอายุ ผู้ที่มีโรคประจำตัว และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนในพื้นที่จะต้องรวดเร็ว ทันเหตุการณ์ จึงจะมีประสิทธิภาพและประสิธิผลต่อสุขภาพ ภายใต้มีส่วนร่วมจากภาคท้องถิ่นและภาคประชาชนวางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ โดยการดำเนินงานในลักษณะ ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ ร่วมประเมินผล และร่วมรับผิดชอบ ในทุกระดับ เพื่อช่วยกันค้นหาปัญหา จึงสามารถแก้ไขต้นตอของปัญหาการเกิดโรค ประชาชนจะต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับบริบทและสภาพปัญหาของแต่ละพื้นที่ภายใต้ศักยภาพพื้นที่ของตนเออง หน่วยงานเกี่ยวข้องทุกระดับให้ความสำคัญกับปัญหาสุขภาพ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพประจำบ้านมีความรู้ มีส่วนร่วมในการดุแลสุขภาพและป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้

1.แกนนำสุขภาพประจำบ้านมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ร้อยละ 80

0.00
2 2.เเพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคลและชุมชนให้เกิดความพร้อมในการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรค

1.แกนนำสุขภาพประจำบ้านมีความรู้ในการดุแลสุขภาพและป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ร้อยละ 80

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 92 9,450.00 0 0.00
4 ส.ค. 63 1.เจ้าหน้าที่คลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวบ้านโพธิ์ ดำเนินการอบรมให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญในพื่นที่ ได้แก่ ไข้เลือดออก โควิด-19 โรคอุจจาระร่วง โรคฉี่หนู โรคมือ เท้า ปาก และโรคอุบัติใหม่ การปรับปรุงสุขาภิบาลอาหาร อนามัยสิ่งแวดล้อม และการลดพฤติกรรมเสี่ย่ 70 3,250.00 -
4 ส.ค. 63 2.ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อและแจ้งข่าวการระบาดของโรคติดต่อ ผ่านสื่อต่างๆ 0 5,400.00 -
4 ส.ค. 63 3.แต่งตั้งคณะกรรมการและพร้อมพัฒนาศักยภาพ เพื่อแจ้งเตือนภัย การส่งข่าว หรือรายงานเบื้องต้นเฝ้าระวังและป้องกันโรค กรณีการเกิดโรคในพื้นที่ ร่วมค้นหาและติดตามผู้ป่วยส 12 300.00 -
4 ส.ค. 63 4.แต่งตั้งคณะกรรมการร่วมค้นหาและติดตามผู้ป่วยสงสัย การใช้เครื่องพ่นหมอกควัน การแก้ปัญหาเมื่อเครื่องขัดข้อง 10 500.00 -

1.เตรียมการ 1.1ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เทศบาลตำบลอาวพะยูน ดรงเรียน ชุมชน หน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ และอื่นๆร่วมกันวางแผนดำเนินการ 1.2จัดตั้งคณะทำงาน/จัดทำแผนปฏิบัติการ/กำหนดภารกิจ/มอบหมายงาน 1.3ประชาสัมพันธ์/นำเนอขออนุมัติแผน 2.ดำเนินการ 2.1เจ้าหน้าที่คลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวบ้านโพธิ์ดำเนินการอบรมให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญในพื้นที่ ได้แก่ ไข้เลือดออก โควิด-19 โรคอุจจาระร่วง โรคฉี่หนู โรคมือ เท้า ปาก และโรคอุบัติใหม่การปรับปรุงสุขาภิบาลอาหาร อนามัยสิ่งแวดล้อมและการลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อ เช่น การล้างมือสะอาดปราศจากโรค สวมหน้ากากอนามัยกินร้อนช้อนกลาง 2.2ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อและแจ้งข่าวการระบาดของโรคติดต่อ ผ่านสื่อต่างๆ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคติดต่อและการดูแลสุขภาพที่ทันเหตุการณ์ สามารถดูแลสุขภาพตนเองครอบครัวและคนชุมชนได้
2.ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วของหมู่บ้า้น มีความพร้อมในการเฝ้าระวังและควบคุมโรค 3.ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ร่วมกัน ควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ส.ค. 2563 09:48 น.