กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หมู่ที่ 5
รหัสโครงการ 63-L2759-02-09
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5
วันที่อนุมัติ 20 กรกฎาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 สิงหาคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 20,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสานิญา สุวรรณวัฒนา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.837,100.558place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (20,500.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขและมีความสำคัญต่อการป่วยพิการและตายก่อนวัยอันควร จำนวนมากได้แก่โรคหัวใจขาดเลือด โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อัมพฤกษ์ อัมพาตซึ่งโรคไม่ติดต่อเรื้อรังนี้ไม่ได้มีผลกระทบเฉพะบุคคลผู้ที่เป็นโรคเท่านั้นแต่ยังส่งผลไปถึงครอบครัวชุมชนรวมไปถึงการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศซึ่งทางสำนักโรคไม่ติดต่อได้รณรงค์และควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ภายใต้แนวความคิดหลักคือการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตด้วยหลัก 3อ.2ส. ได้แก่ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ สูบบุหรี่สุรา เน้นที่ประชาชนที่มีอายุ15 ปีขึ้นไป และมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังให้มีการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตให้เหมาะสมโดยการเลือกรับประทานอาหารรสไม่จัด ( ลดหวานมันเค็มลง ) เพิ่มการรับประทานผักและผลไม้ มีวิถีชีวิตที่กระฉับกระเฉงและออกกำลังกายเพียงพอไม่สูบบุหรี่ลดการดื่มแอลกอฮอล์และมีการจัดการความเครียดที่เหมาะสมจากการดำเนินงานคลินิกโรคเบาหวานและความดันโลหิต หมู่ที่ 5 ตำบลพะตง พบว่า มีผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนโรคอัมพฤกษ์อัมพาตส่งผลให้เกิดการเสียชีวิต และพิการเพิ่มขึ้นทุกปี ดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 จึงได้จัดทำโครงการคัดกรอง โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำปี พ.ศ.2563 ต่อเนื่องขึ้นเพื่อเป็นการคัดกรอง ควบคุมและเฝ้าระวังการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคให้ได้รับการดูแลตามมาตรฐานไม่มีภาวะแทรกซ้อนเพิ่มมากขึ้นในพื้นที่ หมู่ที่ 5 บ้านคลองนุ้ย ดังนั้นทาง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 และกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลพะตง จึงได้จัดทำ โครงการคัดกรอง โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำปี พ.ศ.2563 และป้องกันภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวาน ให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในพื้นที่ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนในระยะยาวต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 100 20,500.00 0 0.00
3 ส.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 โครงการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หมู่ที่ 5 100 20,500.00 -

วิธีดำเนินการ
ขั้นเตรียมการ
1. การจัดประชุมวางแผนร่วมกับผู้นำชุมชน และ อสม.เพื่อขออนุมัติโครงการ
2. ประชุมชี้แจงรายละเอียดของโครงการแก่ผู้นำชุมชน อสม. และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในพื้นที่

ขอความร่วมมือในการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ
1. ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติ
2. จัดกิจกรรมให้ความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การป้องกันภาวะแทรกซ้อนตามเกณฑ์มาตรฐานการ ดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ให้ความรู้ด้านการรับประทานยาที่ถูกต้อง และการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์แก่ตนเอง การออกกำลังกายที่ถูกวิธีสำหรับผู้ป่วย และการดูแลตนเองให้ปราศจากโรคแทรกซ้อนอย่างถูกต้อง และเหมาะสม 3. ผู้ป่วยเบาหวานและความดัน ได้รับการตรวจคัดกรองโรคแทรกซ้อนตามเกณฑ์
4. ให้ความรู้เกี่ยวกับโรค การป้องกันตนเองจากภาวะแทรกซ้อน การรับประทานยาที่ถูกต้อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม แก่ผู้ป่วยในคลินิกเบาหวาน-ความดัน เดือนละ 1 ครั้ง ทุกวันอังคารที่ 4 ของเดือน ขั้นสรุปผลดำเนินการ 5. สรุป/ประเมินผลโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน มีความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้
2.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรค
3. ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้าตาลได้ร้อยละ 40 4. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันได้ร้อยละ 50 5. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันมีภาวะแทรกซ้อนลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ส.ค. 2563 15:30 น.