กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่ผู้สูงอายุ(ลีลาศเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่ผู้สูงอายุ(ลีลาศเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ) ”
ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสมชาย เพ็ญศิริ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง
พฤษภาคม 2560
ชื่อโครงการ กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่ผู้สูงอายุ(ลีลาศเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ)
ที่อยู่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5215-3-3.2 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 31 พฤษภาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่ผู้สูงอายุ(ลีลาศเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่ผู้สูงอายุ(ลีลาศเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ)
บทคัดย่อ
โครงการ " กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่ผู้สูงอายุ(ลีลาศเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5215-3-3.2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 31 พฤษภาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ลีลาศเป็นกิจกรรมเต้นรำที่มีการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างมีศิลปะ สวยงามเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ มีลีลาชวนให้เพลิดเพลิน การเต้นรำในอดีตเป็นกิจกรรมทางสังคม นิยมเต้นเพื่อการสมาคมในงานเลี้ยงสังสรรค์ แต่ปัจจุบันลีลาศได้พัฒนาขึ้นจากเดิมเป็นอันมาก จึงได้ถูกจัดเป็นกีฬาชนิดหนึ่งเรียกว่า "กีฬาลีลาศ" มีการจัดแข่งขันกันอย่างแพร่หลาย ทั้งในระดับนานาชาติและภายในประเทศรวมทั้งในบางครั้งการจัดแข่งขันลีลาศได้ถูกบรรจุในการแข่งขันกีฬาเช่นกัน ลีลาศจึงเป็นกิจกรรมกีฬาและนันทนาการประเภทหนึ่งที่สามารถพัฒนาร่างกายจิตใจของผู้ปฏิบัติเป็นอย่างดี ทั้งยังมีส่วนพัฒนาบุคลิกภาพและมารยาทในการเข้าสู่สังคมเป็นอย่างมาก ในการลีลา่ศแต่ละครั้ง ผู้ปฏิบัติจะต้องใช้ทักษะทั้งในด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหวตามจังหวะดนตรีที่มีการเคลื่อนไหวของร่าสงกายในทุกๆส่วน ทำให้มีการพัฒนาระบบการทรงตัว 3 ระบบ ได้แก่ ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบรับความรู้สวึกและระบบโครงสร้างกล้ามเนื้อ ผู้ที่ได้เรียนสามารถฝึกฝนการเคลื่อนไหวที่ถูกต้องในแต่ละทิศทาง จะมีผลต่อการพัฒนากหารทรงตัวและสามารถลดความเสี่ยงในการหกล้มของผู้สูงอายุได้ในระดับหนึ่งอีกทั้งเป็นการลดความเครียดได้ดีอีกทางหนึ่ง
กองสวัสดิการสังคมซึ่งมีภาระกิจรับผิดชอบในการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุซึ่งอยู่ในอำนาจหน้าที่ของเทศบาล ตามมาตรา 53(1) แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2596 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 13)พ.ศ.2552 ประกอบกับมาตรา 16 (10)และพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2552 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ.(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2549 จึงได้ตระหนักถึงการมีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งทางร่างกายจิตใจ ตลอดจนกหารใช้เวลาให้เกิดประโยชน์และมีความสุขด้วยการทำกิจกรรมต่างๆ ดดยเฉพาะกิจกรรมการออกกำลังกายและนันทนาการ จึงได้จัดทำ"โครงการลีลาศเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ"เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการฝึกฝนการเคลื่อนไหวที่ถูกต้องในแต่ละทิศทาง ทำให้มีการทรงตัวที่ดีขึ้นและมีความสุขในการทำกิจกรรม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ลีลาศเพื่อสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะการลีลาศ
2.มีพัฒนาการทรงตัวและมีกาฝึกฝนการเคลื่อนไหวที่ถูกต้อง
3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาวะทั้งทางกาย จิตใจ สังคม ปัญญา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ลีลาศเพื่อสุขภาพ
วันที่ 2 พฤษภาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
ประชุมและคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายและจัดอบรมในลักษณะบรรยายเชิงทฤษฏีและฝึกภาคปฏิบัติในการลิลาศ จำนวน 3 วัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้สนใจเกินกว่าจำนวนเป้าหมายที่ตั้งไว้ และมีผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่เสนอที่จะจัดตั้งชมรมลิลาศ และขอใช้สถานที่สำนักงานเทศบาลเมืองเขารูปช้างเป็นสถานที่ฝ฿กซ้อม
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
มีผู้สนใจเกินกว่าจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ ทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการเกินกว่าที่กำหนด และบางส่วนเป็นกลุ่มเป้าหมายใหม่ที่ไม่เคยมีความรู้เรื่องการลีลาศมาก่อนแต่มีความสนใจอยากเข้าร่วมโครงการ ทำให้ได้รับความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญาเสนอให้มีการจัดตั้งชมรมลีลาศ โดยใช้สถานที่เทศบาลเป็นสถานที่ฝึกซ้อมและเรียนรู้เพิ่มเติม สัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง และยังเสนอให้จัดโครงการแบบนี้ทกปี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ลีลาศเพื่อสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่ผู้สูงอายุ(ลีลาศเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5215-3-3.2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสมชาย เพ็ญศิริ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่ผู้สูงอายุ(ลีลาศเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ) ”
ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสมชาย เพ็ญศิริ
พฤษภาคม 2560
ที่อยู่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5215-3-3.2 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 31 พฤษภาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่ผู้สูงอายุ(ลีลาศเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่ผู้สูงอายุ(ลีลาศเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ)
บทคัดย่อ
โครงการ " กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่ผู้สูงอายุ(ลีลาศเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5215-3-3.2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 31 พฤษภาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ลีลาศเป็นกิจกรรมเต้นรำที่มีการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างมีศิลปะ สวยงามเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ มีลีลาชวนให้เพลิดเพลิน การเต้นรำในอดีตเป็นกิจกรรมทางสังคม นิยมเต้นเพื่อการสมาคมในงานเลี้ยงสังสรรค์ แต่ปัจจุบันลีลาศได้พัฒนาขึ้นจากเดิมเป็นอันมาก จึงได้ถูกจัดเป็นกีฬาชนิดหนึ่งเรียกว่า "กีฬาลีลาศ" มีการจัดแข่งขันกันอย่างแพร่หลาย ทั้งในระดับนานาชาติและภายในประเทศรวมทั้งในบางครั้งการจัดแข่งขันลีลาศได้ถูกบรรจุในการแข่งขันกีฬาเช่นกัน ลีลาศจึงเป็นกิจกรรมกีฬาและนันทนาการประเภทหนึ่งที่สามารถพัฒนาร่างกายจิตใจของผู้ปฏิบัติเป็นอย่างดี ทั้งยังมีส่วนพัฒนาบุคลิกภาพและมารยาทในการเข้าสู่สังคมเป็นอย่างมาก ในการลีลา่ศแต่ละครั้ง ผู้ปฏิบัติจะต้องใช้ทักษะทั้งในด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหวตามจังหวะดนตรีที่มีการเคลื่อนไหวของร่าสงกายในทุกๆส่วน ทำให้มีการพัฒนาระบบการทรงตัว 3 ระบบ ได้แก่ ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบรับความรู้สวึกและระบบโครงสร้างกล้ามเนื้อ ผู้ที่ได้เรียนสามารถฝึกฝนการเคลื่อนไหวที่ถูกต้องในแต่ละทิศทาง จะมีผลต่อการพัฒนากหารทรงตัวและสามารถลดความเสี่ยงในการหกล้มของผู้สูงอายุได้ในระดับหนึ่งอีกทั้งเป็นการลดความเครียดได้ดีอีกทางหนึ่ง กองสวัสดิการสังคมซึ่งมีภาระกิจรับผิดชอบในการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุซึ่งอยู่ในอำนาจหน้าที่ของเทศบาล ตามมาตรา 53(1) แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2596 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 13)พ.ศ.2552 ประกอบกับมาตรา 16 (10)และพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2552 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ.(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2549 จึงได้ตระหนักถึงการมีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งทางร่างกายจิตใจ ตลอดจนกหารใช้เวลาให้เกิดประโยชน์และมีความสุขด้วยการทำกิจกรรมต่างๆ ดดยเฉพาะกิจกรรมการออกกำลังกายและนันทนาการ จึงได้จัดทำ"โครงการลีลาศเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ"เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการฝึกฝนการเคลื่อนไหวที่ถูกต้องในแต่ละทิศทาง ทำให้มีการทรงตัวที่ดีขึ้นและมีความสุขในการทำกิจกรรม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ลีลาศเพื่อสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะการลีลาศ 2.มีพัฒนาการทรงตัวและมีกาฝึกฝนการเคลื่อนไหวที่ถูกต้อง 3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาวะทั้งทางกาย จิตใจ สังคม ปัญญา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ลีลาศเพื่อสุขภาพ |
||
วันที่ 2 พฤษภาคม 2560กิจกรรมที่ทำประชุมและคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายและจัดอบรมในลักษณะบรรยายเชิงทฤษฏีและฝึกภาคปฏิบัติในการลิลาศ จำนวน 3 วัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้สนใจเกินกว่าจำนวนเป้าหมายที่ตั้งไว้ และมีผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่เสนอที่จะจัดตั้งชมรมลิลาศ และขอใช้สถานที่สำนักงานเทศบาลเมืองเขารูปช้างเป็นสถานที่ฝ฿กซ้อม
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
มีผู้สนใจเกินกว่าจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ ทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการเกินกว่าที่กำหนด และบางส่วนเป็นกลุ่มเป้าหมายใหม่ที่ไม่เคยมีความรู้เรื่องการลีลาศมาก่อนแต่มีความสนใจอยากเข้าร่วมโครงการ ทำให้ได้รับความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญาเสนอให้มีการจัดตั้งชมรมลีลาศ โดยใช้สถานที่เทศบาลเป็นสถานที่ฝึกซ้อมและเรียนรู้เพิ่มเติม สัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง และยังเสนอให้จัดโครงการแบบนี้ทกปี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ลีลาศเพื่อสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่ผู้สูงอายุ(ลีลาศเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5215-3-3.2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสมชาย เพ็ญศิริ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......