กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา


“ โครงการเด็กบ้านไร่ เติบโตสมวัย ปลอดภัยสมบูรณ์ ”

ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านไร่ โดย นางสาวนภัสสร แสงประดับ ตำแหน่งครูโรงเรียนบ้านไร่

ชื่อโครงการ โครงการเด็กบ้านไร่ เติบโตสมวัย ปลอดภัยสมบูรณ์

ที่อยู่ ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5261-2-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กบ้านไร่ เติบโตสมวัย ปลอดภัยสมบูรณ์ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กบ้านไร่ เติบโตสมวัย ปลอดภัยสมบูรณ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กบ้านไร่ เติบโตสมวัย ปลอดภัยสมบูรณ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5261-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2563 - 31 มีนาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,310.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โภชนาการเป็นเรื่องของการกิน “อาหาร” ที่ร่างกายเรานำ “สารอาหาร”จากอาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข อาหาร และโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัย ทั้งเด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุโดยเฉพาะเด็กช่วงอายุ 4 – 12 ปี เป็นวัยรากฐานของการพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา เป็นวัยที่มีความสำคัญที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมอง มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด เพื่อส่งเสริมการพัฒนารอบด้าน อาหารและโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กทุกเพศทุกวัย ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุที่สำคัญจากการไม่ได้รับสารอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วน ทำให้ร่างกายไม่เจริญเติบโตเท่าที่ควร นอกจากนั้นยังเกิดจากพฤติกรรมการกินของเด็กที่มีผลต่อการกำหนดนิสัย และบุคลิกภาพของเด็กในอนาคต โดยการสะสมของพฤติกรรมนี้เกิดขึ้นนับตั้งแต่มื้อแรกในชีวิต พฤติกรรมการกินต่างๆที่พ่อแม่หรือคนเลี้ยงดูได้กำหนดให้เด็กซึ่งมีผลต่อนิสัยการกินของเด็กในอนาคต ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่ช่วยกันดูแลเอาใจใส่เรื่องอาหารการกินหรือโภชนาการของเด็ก ผู้ปกครอง ครู และผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เพื่อช่วยให้เด็กได้มีอาหารการกินที่ดีมีคุณค่าทางอาหาร และได้ปริมาณครบถ้วน ส่วนใหญ่เด็กมีปัญหาเรื่องความผอม ไม่สมสัดส่วน ซึ่งมีความจำเป็นต้องดูแล แก้ไข เอาใจใส่เด็กกลุ่มนี้ให้มีภาวะโภชนาการที่ดีต่อไปโดยทางโรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนชั้นอนุบาลถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 136 คน ทำกิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษภายในโรงเรียน เพื่อนำผลผลิตที่ได้มาประกอบอาหารเช้า ส่วนผลิตที่เหลือนำมาขายให้กับผู้ปกครองในชุมชน และทางโรงเรียนจะเปลี่ยนจากพื้นที่ว่างเปล่า ทำให้เกิดประโยชน์ ปลูกผักปลอดสารพิษ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ดังนั้นจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้รับความรู้และฝึกฝนทักษะในการทำงานด้านอาชีพเบื้องต้น และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับชีวิตของตนเองและพัฒนาอาชีพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มเด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะสูงดีสมส่วน
  2. เพื่อลดภาวะทุพโภชนกาารของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ลง
  3. เพื่อให้นักเรียน ครู และผู้ปกครอง รู้จักเลือกบริโภคอาหาร และวิธีการประกอบอาหารที่ปลอดภัย
  4. เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนและชุมชน
  5. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านไร่มีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ
  2. ประชุมคณะทำงานครู บุคลากรและคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านไร่
  3. การเพาะเห็ด
  4. การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
  5. การปลูกผักปลอดสารพิษ
  6. อาหารเช้าปลอดภัยในโรงเรียน
  7. การติดตามและประเมินผล
  8. คืนข้อมูลด้านสุขภาพให้แก่ผู้ปกครอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 136
กลุ่มวัยทำงาน 164
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษ และสามารถนำไปปฏิบัติใช้ในชีวิตประจำวันได้
  2. นักเรียนรู้จักเลือกบริโภคอาหาร และวิธีการประกอบอาหารที่ปลอดภัย
  3. นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
  4. โรงเรียนและชุมชนเป็นโรงเรียนปลอดสารพิษ และชุมชนปลอดสารพิษ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานครู บุคลากรและคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านไร่

วันที่ 14 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการและระดมความคิด แนวทางการดำเนินกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะครู บุคลากร และคณะกรรมการสถานศึกษา มีความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียดของโครงการเพิ่มมากขึ้น และส่งผลให้เกิดกิจกรรมนี้ขึ้นมาได้

 

28 0

2. การปลูกผักปลอดสารพิษ

วันที่ 21 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ครูที่รับผิดชอบร่วมกับนักเรียน ชั้นร ป. 4 - 6 จำนวน 49 คน เชิญวิทยากรที่มีความรู้เรื่องการปลูกผักมาให้ความรู้เกี่ยวกับการเพาะเมล็ดพันธุ์ผัก จัดหาเมล็ดพันธุ์ผัก เช่น ผักบุ้ง ผักกาดขาว เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับวิธีการปลุกผักปลอดสารพิษ สามารถนำผักมาผลิตเป็นอาหารใหเแก่เด็กนักเรียน

 

150 0

3. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ

วันที่ 25 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะแก่นักรียนและผู้ปกครอง จำนวน 300 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองและนักเรียนเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับการบริโภคที่ถูกสุขลักษณธมากยิ่งขึ้น นักเรียนได้ทำกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

300 0

4. การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ

วันที่ 31 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ครูที่รับผิดชอบร่วมกับนักเรียน จัดหาอุปกรณ์ในการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ โดยใช้วิทยากรให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนได้ทำปุ๋ยหมักชีวภาพ

 

150 0

5. การเพาะเห็ด

วันที่ 18 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ครูที่รับผิดชอบร่วมกับนักเรียน จัดหาอุปกรณ์ในการทำเพาะเห็ด ตลอดจนมีการติดตาม บันทึก สังเกตการเจริญเติบโต โดยใช้วิทยากรให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับวิธีการเพาะเห็ดนางฟ้า นักเรียนได่้ใช้ทักษะในการสังเกตการเจริญเติบโตและสามารถเก็บเกี่ยวเห็ดได้ตามเวลา สามารถนำผลผลิตมาประกอบเป็นอาหาร

 

150 0

6. การติดตามและประเมินผล

วันที่ 25 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ทำแบบสอบถามพึงพอใจ ติดตามจากสมุดบันทึกสุขภาพของนักเรียน ไม่ใช้งบประมาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนในโรงเรียนมีสุขภาพที่ดีขึ้น

 

150 0

7. คืนข้อมูลด้านสุขภาพให้แก่ผู้ปกครอง

วันที่ 25 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

คืนข้อมูลสุขภาพในวันประชุมผู้ปกครอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองได้รับข้อมูลสุขภาพของนักเรียนจากการทำกิจกรรม

 

300 0

8. อาหารเช้าปลอดภัยในโรงเรียน

วันที่ 1 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ทุกวันศุกร์จะให้นักเรียนนำผลผลิตภายในครัวเรือนทำเป็นอาหารเช้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กได้รับประทานอาหารเช้าทื่ปลอดพิษจากชุมชน

 

150 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มเด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะสูงดีสมส่วน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะสูงดีสมส่วน เพิ่มขึ้น
70.00 70.00 72.00

 

2 เพื่อลดภาวะทุพโภชนกาารของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
20.00 20.00 18.00

 

3 เพื่อให้นักเรียน ครู และผู้ปกครอง รู้จักเลือกบริโภคอาหาร และวิธีการประกอบอาหารที่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : นักเรียน ครู และผู้ปกครอง รู้จักเลือกบริโภคอาหาร และวิธีการประกอบอาหารที่ปลอดภัย
50.00 60.00

 

4 เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนและชุมชน
ตัวชี้วัด : พื้นที่ในการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนและชุมชนเพิ่มขึ้น
30.00 45.00

 

5 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านไร่มีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : นักเรียนโรงเรียนบ้านไร่มีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
50.00 72.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 136 136
กลุ่มวัยทำงาน 164 164
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มเด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะสูงดีสมส่วน (2) เพื่อลดภาวะทุพโภชนกาารของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ลง (3) เพื่อให้นักเรียน ครู และผู้ปกครอง รู้จักเลือกบริโภคอาหาร และวิธีการประกอบอาหารที่ปลอดภัย (4) เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนและชุมชน (5) เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านไร่มีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ (2) ประชุมคณะทำงานครู บุคลากรและคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านไร่ (3) การเพาะเห็ด (4) การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ (5) การปลูกผักปลอดสารพิษ (6) อาหารเช้าปลอดภัยในโรงเรียน (7) การติดตามและประเมินผล (8) คืนข้อมูลด้านสุขภาพให้แก่ผู้ปกครอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเด็กบ้านไร่ เติบโตสมวัย ปลอดภัยสมบูรณ์

รหัสโครงการ 63-L5261-2-10 ระยะเวลาโครงการ 1 สิงหาคม 2563 - 31 มีนาคม 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้เรื่องการบริโภคผักที่ปลอดสารพิษ

กิจกรรมการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคที่ถูกสุขลักษณะ

ควรให้เด็กและผู้ปกครองนำองค์ความรู้ต่างๆ ไปประยุกต์ใช้ในครัวเรือน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

กิจกรรมการอบรมอาศัยร่วมร่วมมือของผู้ปกครองมาช่วยผลักดันให้โครงการมีประสิทธิภาพมากขึ้น

กิจกรรมการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ ตลอดจนการคืนข้อมูลสุขภาพให้ผู้ปกครองทราบ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

การรวมกลุ่มของผู้ปกครองและเด็กนักเรียนในการส่งเสริมภาวะโภชนการ ตลอดจนการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

กิจกรรมการอบรมที่ดึงผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมทุกกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

มีแหล่งเรียนรู้เรื่องการจัดการภาวะโภชนาการ การบริโภคที่ปลอดภัยให้แก่โรงเรียนอื่นๆต่อไป

การปลูกผัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

ควรส่งเสริมยกระดับโครงการไปยังครัวเรือนต่างๆในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

กิจกรรมการปลูกผักโดยใช้เกษตรอินทรีย์เข้ามาเกี่ยวข้อง ปราศจากยาฆ่าแมลง

การปลูกผัก การทำน้ำหมัก

ควรส่งเสริมให้โครงการในโรงเรียนมีความเข้มแข็งมากขึ้น เพื่อเป็นต้นแบบไปยังกลุ่มงานอื่นๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

การปลูกผัก การทำน้ำหมักชีวภาพ เพื่อนำมาบริโภคแทนการใช้สารเคมี

กิจกรรมการปลูกผัก และการทำน้ำหมักชีวภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

การทำน้ำหมักชีวภาพเพื่อใช้ในการปลูกผักเกษตร

กิจกรรมการทำน้ำหมักชีวภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

การดึงผู้ปกครองนักเรียนเข้ามามีส่วนร่วมทุกกิจกรรมในการดำเนินโครงการ

กิจกรรมโครงการ เช่น การอบรมเรื่องการบริโภค การทำน้ำหมัก การคืนข้อมูลสุขภาพนักเรียน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

การคืนข้อมูลสุขภาพนักเรียน และการแลกเปลี่ยนควาามคิดเห็นระหว่างคู ผู้ปกครอง

การคืนข้อมูลสุขภาพนักเรียน ในวันประชุมผู้ปกครอง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

นักเรียนมีความภาคภูมิใจในการดำเนินกิจกรรมตั้งแต่กระบวนการเพาะปลูก จนถึงการเก็บเกี่ยวผลผลิต

แบบสอบถามความพึงพอใจ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

นักเรียนรู้จักแบ่งปันโดยการนำผักที่เหลือจากการบริโภคในโรงเรียน ไปช่วยเหลือผู้ปกครอง

แบบสอบถามความพึงพอใจ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

การให้เด็กนักเรียน และผู้ปกครองปลูกผักกินเอง ส่วนที่เหลือจากการบริโภคการนำไปช่วยเหลือผู้อื่นต่อไป

การปลุกผัก การทำเกษตรอินทรีย์

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเด็กบ้านไร่ เติบโตสมวัย ปลอดภัยสมบูรณ์ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5261-2-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงเรียนบ้านไร่ โดย นางสาวนภัสสร แสงประดับ ตำแหน่งครูโรงเรียนบ้านไร่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด