โครงการสวนสมุนไพรสาธิตการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในตำบล
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสวนสมุนไพรสาธิตการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในตำบล ”
หมู่ท่ี 1-7 ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากแจ่ม(เงินบำรุงจากเงินกองทุนฯ สอ.ต.ปากแจ่ม)
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม
ชื่อโครงการ โครงการสวนสมุนไพรสาธิตการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในตำบล
ที่อยู่ หมู่ท่ี 1-7 ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1536-1-002 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสวนสมุนไพรสาธิตการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในตำบล จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ท่ี 1-7 ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสวนสมุนไพรสาธิตการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในตำบล
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสวนสมุนไพรสาธิตการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในตำบล " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ท่ี 1-7 ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1536-1-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,603.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
5,282
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
พืชสมุนไพรในชุมชน ไม่ได้เป็นเพียงตัวสะท้อนความเป็นอยู่ของคนไทยตามท้องถิ่นเท่านั้นแต่ยังแสดงให้เห็นถึงศิลปะและศาสตร์การใช้สมุนไพรมาเป็นยารักษาโรคของคนในชุมชนท้องถิ่น รวมถึงความรู้ทางโภชนาการสมัยใหม่ ยังแสดงให้เห็นได้ว่าพืชสมุนไพรหลายชนิดมีวิตามิน แร่ธาตุสูง จึงนับเป็นสมุนไพรสุขภาพชั้นดี และเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมขึ้น ทำให้เกิดการพัฒนาในการหลายๆด้าน เพื่อรองรับการเจริญเติบโต ตลอดจนโลกในยุคปัจจุบันเต็มไปด้วยสิ่งแวดล้อมที่เป็นพิษและอาหารการกินที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค สมุนไพรเป็นผลผลิตจากธรรมชาติที่มนุษย์นำมาใช้ประโยชน์ เพื่อนำไปใช้ในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บตั้งแต่สมัยโบราณ ซึ่งสามารถรักษาโรคบางชนิดได้โดยไม่ต้องใช้ยาแผนปัจจุบัน ซึ่งยาแผนปัจจุบันบางตัวมีราคาแพง แตกต่างจากพืชสมุนไพรที่สามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่นเพราะส่วนใหญ่ได้จากพืชสมุนไพรที่มีอยู่ทั่วไปในชุมชน ใช้เป็นยาบำรุงรักษาให้ร่างกายมีสุขภาพแข็งแรง การส่งเสริมให้เยาวชนในท้องถิ่นรู้จักสรรพคุณของพืชสมุนไพร สามารถนำพืชสมุนไพรพื้นบ้านในท้องถิ่นของตนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ตามแบบแผนการรักษาของโบราณทำให้มองเห็นคุณค่าและกลับมาดำเนินชีวิตใกล้ชิดกับธรรมชาติ เกิดความภาคภูมิใจในมรดกทางปัญญาเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาชาวบ้าน ในปัจจุบันประชาชนยังรู้จักการนำสมุนไพรพื้นบ้านมาใช้ประโยชน์น้อยมาก เนื่องจากวิธีรักษาโรคกับแพทย์แผนปัจจุบันที่เข้ามานานจึงไม่เคยชินกับวิธีการรักษาแบบโบราณดั้งเดิม ทั้งที่สมุนไพรเหล่านั้นอยู่ใกล้รอบตัวเรา แต่ในปัจจุบันได้กลับมาเป็นที่ยอมรับแล้วว่า ผลที่ได้จากการสกัดสมุนไพรบางชนิดนั้นให้คุณประโยชน์ดีกว่ายาที่ได้จากการสังเคราะห์สารเคมีทางวิทยาศาสตร์ และที่สำคัญประเทศไทยเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากแจ่ม ได้จัดทำโครงการสวนสมุนไพรสาธิตส่งเสริมการใช้สมุนไพรในตำบลปากแจ่ม เพื่อตระหนักถึงความสำคัญของพืชสมุนไพรพื้นบ้านซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการรักษาสุขภาพอย่างปลอดภัยโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในราคาสูง เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น โดยเน้นพืชสมุนไพรพื้นบ้านในชุมชนใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ เพื่อเจ้าหน้าที่ อสม. ประชาชนในชุมชนตำบลปากแจ่ม และเป็นสื่อด้านสมุนไพรและสามารถนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันตามวิถีพอเพียง นอกจากนี้ยังเป็นการอนุรักษ์พืชสมุนไพรในท้องถิ่นอีกด้วย
๒. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อรวบรวมและขยายพันธุ์พืชสมุนไพรให้เป็นศูนย์เรียนรู้ด้านพืชสมุนไพรในชุมชน 2.2 เพื่อให้ อสม.มีความรู้และทักษะในการประยุกต์ใช้พืชสมุนไพรในครัวเรือนได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
2.3 เพื่อนำสมุนไพรไปใช้ในงานของคลินิกการแพทย์แผนไทยกับการดูแลสุขภาพของประชาชน
๓. เป้าหมาย
3.1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากแจ่ม มีสวนสมุนไพรสาธิต 3.2 ร้อยละ 80 อสม.สอบผ่านการใช้สมุนไพร และมีความรู้ทักษะในการประยุกต์ใช้พืชสมุนไพรในครัวเรือนได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
3.3. ร้อยละ 60 ของคลินิกแพทย์แผนไทยได้ใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรสวนสาธิต(เป็นพืชสมุนไพรสดหรือทำให้สมุนไพรแห้ง หรือปรุง) มาใช้ในการให้บริการด้านการทำหัตถการด้านศาสตร์การแพทย์แผนไทย
๔. กลุ่มเป้าหมาย ๔.๑ แกนนำ อสม.ในพื้นที่ตำบลปากแจ่ม หมู่ที่ 1-7 จำนวน 83 คน
งบประมาณ
จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ปากแจ่ม จำนวน 17,๖0๓ บาท รายละเอียด ดังนี้
งบกิจกรรมอบรมให้ความรู้
1. ค่าอาหารว่าง 1 มื้อ ราคามื้อละ 25 บาท จำนวน 83 คน เป็นเงิน 2,075 บาท 2. ค่าแบบทดสอบความรู้ก่อนการอบรมจำนวน 83 ชุด และชุดหลังการอบรมจำนวน 83 ชุด
รวมเป็นจำนวน 166 ชุด ชุดละ 3 บาท เป็นเงิน ๔98 บาท
3. ค่าสมุดจดบันทึก จำนวน 83 เล่ม ราคาเล่มละ ๑0 บาท เป็นเงิน 830 บาท 4. ค่าปากกา จำนวน 83 ด้าม ด้ามละ 10 บาท เป็นเงิน 830 บาท
งบกิจกรรมทำสวนสมุนไพรสาธิต
1. ค่าส้อมพรวนดินจำนวน 5 ด้ามด้ามละ ๗๙ บาท เป็นเงิน ๓๙๕ บาท 2. ค่าช้อนพรวนดินจำนวน 5 ด้ามด้ามละ ๕๕ บาท เป็นเงิน ๒๗๕ บาท 3. ค่าปุ๋ยคอกจำนวน ๓๐ กระสอบ กระสอบละ ๖๕ บาท เป็นเงิน ๑,๙๕๐ บาท 4. ค่าท่อปูนซีเมนกว้าง ๕๓ ซ.ม. สูง ๓๗ ซ.ม. จำนวน ๓๐ ท่อ ท่อละ ๑๒๐ บาท เป็นเงิน ๓,๖๐๐ บาท 5. ค่าทำป้ายอะคริลิก กว้าง 30 ซม. ยาว 40 ซม. ราคาป้ายละ 155 บาท จำนวน 30 ป้าย เป็นเงิน 4,๖50 บาท 6. ค่าป้ายสวนสมุนไพร กว้าง 70 ซม. ยาว 120 ซม. ราคาป้ายละ 2,500 บาท จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 2,500 บาท
รวมเป็นเงินทั้งหมด 17,๖0๓ บาท
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
5282
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
5,282
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสวนสมุนไพรสาธิตการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในตำบล จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1536-1-002
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากแจ่ม(เงินบำรุงจากเงินกองทุนฯ สอ.ต.ปากแจ่ม) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสวนสมุนไพรสาธิตการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในตำบล ”
หมู่ท่ี 1-7 ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากแจ่ม(เงินบำรุงจากเงินกองทุนฯ สอ.ต.ปากแจ่ม)
ที่อยู่ หมู่ท่ี 1-7 ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1536-1-002 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสวนสมุนไพรสาธิตการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในตำบล จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ท่ี 1-7 ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสวนสมุนไพรสาธิตการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในตำบล
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสวนสมุนไพรสาธิตการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในตำบล " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ท่ี 1-7 ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1536-1-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,603.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 5,282 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
พืชสมุนไพรในชุมชน ไม่ได้เป็นเพียงตัวสะท้อนความเป็นอยู่ของคนไทยตามท้องถิ่นเท่านั้นแต่ยังแสดงให้เห็นถึงศิลปะและศาสตร์การใช้สมุนไพรมาเป็นยารักษาโรคของคนในชุมชนท้องถิ่น รวมถึงความรู้ทางโภชนาการสมัยใหม่ ยังแสดงให้เห็นได้ว่าพืชสมุนไพรหลายชนิดมีวิตามิน แร่ธาตุสูง จึงนับเป็นสมุนไพรสุขภาพชั้นดี และเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมขึ้น ทำให้เกิดการพัฒนาในการหลายๆด้าน เพื่อรองรับการเจริญเติบโต ตลอดจนโลกในยุคปัจจุบันเต็มไปด้วยสิ่งแวดล้อมที่เป็นพิษและอาหารการกินที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค สมุนไพรเป็นผลผลิตจากธรรมชาติที่มนุษย์นำมาใช้ประโยชน์ เพื่อนำไปใช้ในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บตั้งแต่สมัยโบราณ ซึ่งสามารถรักษาโรคบางชนิดได้โดยไม่ต้องใช้ยาแผนปัจจุบัน ซึ่งยาแผนปัจจุบันบางตัวมีราคาแพง แตกต่างจากพืชสมุนไพรที่สามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่นเพราะส่วนใหญ่ได้จากพืชสมุนไพรที่มีอยู่ทั่วไปในชุมชน ใช้เป็นยาบำรุงรักษาให้ร่างกายมีสุขภาพแข็งแรง การส่งเสริมให้เยาวชนในท้องถิ่นรู้จักสรรพคุณของพืชสมุนไพร สามารถนำพืชสมุนไพรพื้นบ้านในท้องถิ่นของตนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ตามแบบแผนการรักษาของโบราณทำให้มองเห็นคุณค่าและกลับมาดำเนินชีวิตใกล้ชิดกับธรรมชาติ เกิดความภาคภูมิใจในมรดกทางปัญญาเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาชาวบ้าน ในปัจจุบันประชาชนยังรู้จักการนำสมุนไพรพื้นบ้านมาใช้ประโยชน์น้อยมาก เนื่องจากวิธีรักษาโรคกับแพทย์แผนปัจจุบันที่เข้ามานานจึงไม่เคยชินกับวิธีการรักษาแบบโบราณดั้งเดิม ทั้งที่สมุนไพรเหล่านั้นอยู่ใกล้รอบตัวเรา แต่ในปัจจุบันได้กลับมาเป็นที่ยอมรับแล้วว่า ผลที่ได้จากการสกัดสมุนไพรบางชนิดนั้นให้คุณประโยชน์ดีกว่ายาที่ได้จากการสังเคราะห์สารเคมีทางวิทยาศาสตร์ และที่สำคัญประเทศไทยเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากแจ่ม ได้จัดทำโครงการสวนสมุนไพรสาธิตส่งเสริมการใช้สมุนไพรในตำบลปากแจ่ม เพื่อตระหนักถึงความสำคัญของพืชสมุนไพรพื้นบ้านซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการรักษาสุขภาพอย่างปลอดภัยโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในราคาสูง เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น โดยเน้นพืชสมุนไพรพื้นบ้านในชุมชนใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ เพื่อเจ้าหน้าที่ อสม. ประชาชนในชุมชนตำบลปากแจ่ม และเป็นสื่อด้านสมุนไพรและสามารถนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันตามวิถีพอเพียง นอกจากนี้ยังเป็นการอนุรักษ์พืชสมุนไพรในท้องถิ่นอีกด้วย
๒. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อรวบรวมและขยายพันธุ์พืชสมุนไพรให้เป็นศูนย์เรียนรู้ด้านพืชสมุนไพรในชุมชน 2.2 เพื่อให้ อสม.มีความรู้และทักษะในการประยุกต์ใช้พืชสมุนไพรในครัวเรือนได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
2.3 เพื่อนำสมุนไพรไปใช้ในงานของคลินิกการแพทย์แผนไทยกับการดูแลสุขภาพของประชาชน
๓. เป้าหมาย
3.1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากแจ่ม มีสวนสมุนไพรสาธิต 3.2 ร้อยละ 80 อสม.สอบผ่านการใช้สมุนไพร และมีความรู้ทักษะในการประยุกต์ใช้พืชสมุนไพรในครัวเรือนได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
3.3. ร้อยละ 60 ของคลินิกแพทย์แผนไทยได้ใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรสวนสาธิต(เป็นพืชสมุนไพรสดหรือทำให้สมุนไพรแห้ง หรือปรุง) มาใช้ในการให้บริการด้านการทำหัตถการด้านศาสตร์การแพทย์แผนไทย
๔. กลุ่มเป้าหมาย ๔.๑ แกนนำ อสม.ในพื้นที่ตำบลปากแจ่ม หมู่ที่ 1-7 จำนวน 83 คน
งบประมาณ
จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ปากแจ่ม จำนวน 17,๖0๓ บาท รายละเอียด ดังนี้
งบกิจกรรมอบรมให้ความรู้
1. ค่าอาหารว่าง 1 มื้อ ราคามื้อละ 25 บาท จำนวน 83 คน เป็นเงิน 2,075 บาท 2. ค่าแบบทดสอบความรู้ก่อนการอบรมจำนวน 83 ชุด และชุดหลังการอบรมจำนวน 83 ชุด
รวมเป็นจำนวน 166 ชุด ชุดละ 3 บาท เป็นเงิน ๔98 บาท
3. ค่าสมุดจดบันทึก จำนวน 83 เล่ม ราคาเล่มละ ๑0 บาท เป็นเงิน 830 บาท 4. ค่าปากกา จำนวน 83 ด้าม ด้ามละ 10 บาท เป็นเงิน 830 บาท
งบกิจกรรมทำสวนสมุนไพรสาธิต
1. ค่าส้อมพรวนดินจำนวน 5 ด้ามด้ามละ ๗๙ บาท เป็นเงิน ๓๙๕ บาท 2. ค่าช้อนพรวนดินจำนวน 5 ด้ามด้ามละ ๕๕ บาท เป็นเงิน ๒๗๕ บาท 3. ค่าปุ๋ยคอกจำนวน ๓๐ กระสอบ กระสอบละ ๖๕ บาท เป็นเงิน ๑,๙๕๐ บาท 4. ค่าท่อปูนซีเมนกว้าง ๕๓ ซ.ม. สูง ๓๗ ซ.ม. จำนวน ๓๐ ท่อ ท่อละ ๑๒๐ บาท เป็นเงิน ๓,๖๐๐ บาท 5. ค่าทำป้ายอะคริลิก กว้าง 30 ซม. ยาว 40 ซม. ราคาป้ายละ 155 บาท จำนวน 30 ป้าย เป็นเงิน 4,๖50 บาท 6. ค่าป้ายสวนสมุนไพร กว้าง 70 ซม. ยาว 120 ซม. ราคาป้ายละ 2,500 บาท จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 2,500 บาท
รวมเป็นเงินทั้งหมด 17,๖0๓ บาท
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 5282 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 5,282 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสวนสมุนไพรสาธิตการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในตำบล จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1536-1-002
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากแจ่ม(เงินบำรุงจากเงินกองทุนฯ สอ.ต.ปากแจ่ม) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......