กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส


“ โครงการ อสม. บ้านเขาใน ร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนำสู่สุขภาพดี ”

ตำบลเชิงแส อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
คณะกรรมการ อสม. หมู่ที่ 1 ตำบลเชิงแส

ชื่อโครงการ โครงการ อสม. บ้านเขาใน ร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนำสู่สุขภาพดี

ที่อยู่ ตำบลเชิงแส อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อสม. บ้านเขาใน ร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนำสู่สุขภาพดี จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเชิงแส อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม. บ้านเขาใน ร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนำสู่สุขภาพดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อสม. บ้านเขาใน ร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนำสู่สุขภาพดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเชิงแส อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสังคมของคนไทยเริ่มเปลี่ยนไปจากอดีต ดังจะเห็นได้จากบริบทการทำงาน เศรษฐกิจ และวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป มีการแข่งขันทั้งทางด้านข่าวสารสารสนเทศและเทคโนโลยี ทำให้วิถีชีวิตของคนในสังคมต้องเร่งรีบและแข่งขันตามกลไกเศรษฐกิจ แต่ในความเจริญนั้นก่อให้เกิดปัญหาต่างๆเกิดขึ้นด้วย ไม่ว่าจะเป็นปัญหาอาชญากรรม สุขภาพทั้งร่างกายจิตใจ แต่ระบบเศรษฐกิจนั้นยังคงดำเนินไปเรื่อยๆ โดยที่ทรัพยากรที่สำคัญที่สุดคือทรัพยากรมนุษย์นั้นไม่ยั่งยืนและพัฒนาขึ้น เพราะร่างกายมนุษย์เสื่อมลงตามกาลเวลา ประกอบกับมลภาวะทางสิ่งแวดล้อมที่เพิ่มขึ้น แต่เวลาในการดูแลสุขภาพของตนเองกลับน้อยลง เกิดปัญหาด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น ทำให้ประชาชนหันไปพึ่งพาสินค้าที่จะทำให้สุขภาพดีจากสื่อต่างๆ เช่น ยาลดความอ้วน น้ำสมุนไพรต่างๆ ซึ่งไม่จำเป็นและมีราคาแพง และประชาชนมีการออกกำลังกายน้อยลงมีผลทำให้ร่างกายอ่อนแอ
ซึ่งในปัจจุบันนี้ ปัญหาโรคไม่ติดต่อได้กลับกลายมาเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศจากรายงานของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าโรคที่เป็นปัญหาในชุมชน 5 อันดับแรก ในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงร่างและไขมันอุดตันในเส้นเลือด จากข้อมูลรายงานผู้มารับบริการในโรงพยาบาลกระแสสินธุ์ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2555 – 2559 มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี ผู้ป่วยที่พบส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มวัยแรงงาน และกลุ่มผู้สูงอายุ จากการสอบถามพบว่าผู้ป่วยขาดการออกกำลังกาย และบริโภคอาหารไม่ถูกต้องก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน ซึ่งถ้าประชาชนได้บริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะและมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอก็จะสามารถลดปัญหาดังกล่าวลงได้จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรณรงค์และส่งเสริมให้มีการออกกำลังกายกันมากขึ้นพัฒนาพฤติกรรมการออกกำลังกายของประชาชนให้เป็นพฤติกรรมเคยชินไม่ใช่เพียงกระแสหรือแฟชั่นเท่านั้นแต่เป็นการสร้างพฤติกรรมถาวรหรือเป็นการสร้างวัฒนธรรมสุขภาพที่ดีและเพื่อให้การออกกำลังการเป็นไปอย่างยั่งยืนจึงจำเป็นต้องมีแกนนำในการออกกำลังกายเพื่อเป็นแกนนำในการส่งเสริมการออกกำลังกายให้กับประชาชนในชุมชนนั้นได้มีการออกกำลังการกันมากขึ้นและสม่ำเสมอ บ้านเขาใน หมู่ที่ 1 ตำบลเชิงแส อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา ได้จัดตั้งชมรมเต้นแอโรบิกเพื่อสุขภาพ ณ บ้านเขาใน เมื่อปี พ.ศ. 2557โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือ สมาชิกในหมู่บ้านและหมู่บ้านใกล้เคียงทุกเพศทุกวัย และเมื่อปลายปี พ.ศ. 2559เครื่องเสียง (เครื่องขยายเสียง) เกิดการชำรุดเสียหายไม่สามารถซ่อมแซมได้ส่วนอุปกรณ์อื่นๆ เช่น ลำโพงเคื่องเล่นซีดีไมโครโฟน ยังใช้งานได้ ทางชมรมจึงจำเป็นต้องจัดหาเครื่องขยายเสียงใหม่ เพื่อให้กิจกรรมได้ดำเนินไปอย่างต่อเนื่องและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่สมาชิกในชมรมทุกคน และเมื่อได้เครื่องขยายเสียงชุดดังกล่าวแล้วจะใช้ในการสื่อสารโดยจัดกิจกรรมอบรมสุขภาพขึ้น ซึ่งเน้นหนักหลัก 3 อ 2 ส. และมาตรการ 3 เก็บ 3 โรคกิจกรรมกำจัดยุงลายเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก และการกำจัดขยะมูลฝอยในบริเวณหมู่บ้าน เพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชนและการจัดการด้านสุขาภิบาลของชุมชนทั้งนี้ เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาวะครบทั้ง 4 ด้าน คือ ด้าน กายใจสังคม และสติปัญญาจึงได้จัดทำโครงการ อสม. บ้านเขาในร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนำสู่สุขภาพดี โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเชิงแส

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการบริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ และออกกำลังกายอย่างถูกต้อง
  2. เพื่อส่งเสริมให้มีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง
  3. 3. เพื่อให้ประชาชนที่เข้าร่วมออกกำลังกายมีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 70 โดยดัชนีมวลกายอยู่ระหว่าง 18.5 – 24.9 และรอบเอวชายไม่เกิน 90 เซนติเมตร หญิงไม่เกิน 80 เซนติเมตร หรือมีค่าดัชนีมวลกายลดลงจากเดิม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ ทำให้ประชาชนและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคอ้วน) มีความตระหนักถึงการออกกำลังกาย ทำให้มีสุขภาพจิตทีดีสุขภาพกายแข็งแรงและออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องพร้อมทั้งมีแกนนำในการออกกำลังกายทุกวัน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการบริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ และออกกำลังกายอย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ - อบรมให้ความรู้แก่ประชาชนเรื่องการบริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษะ และออกกำลังกายอย่างถูกต้อง

     

    2 เพื่อส่งเสริมให้มีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : - มีผู้นำออกกำลังกายทุกวัน

     

    3 3. เพื่อให้ประชาชนที่เข้าร่วมออกกำลังกายมีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 70 โดยดัชนีมวลกายอยู่ระหว่าง 18.5 – 24.9 และรอบเอวชายไม่เกิน 90 เซนติเมตร หญิงไม่เกิน 80 เซนติเมตร หรือมีค่าดัชนีมวลกายลดลงจากเดิม
    ตัวชี้วัด : -ประชาชนที่เข้าร่วมออกกำลังกายมีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 70 โดยดัชนีมวลกายอยู่ระหว่าง 18.5 – 24.9 และรอบเอวชายไม่เกิน 90 เซนติเมตร หญิงไม่เกิน 80 เซนติเมตร หรือมีค่าดัชนีมวลกายลดลงจากเดิม

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการบริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ และออกกำลังกายอย่างถูกต้อง (2) เพื่อส่งเสริมให้มีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง (3) 3. เพื่อให้ประชาชนที่เข้าร่วมออกกำลังกายมีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 70 โดยดัชนีมวลกายอยู่ระหว่าง 18.5 – 24.9 และรอบเอวชายไม่เกิน 90 เซนติเมตร หญิงไม่เกิน 80 เซนติเมตร หรือมีค่าดัชนีมวลกายลดลงจากเดิม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ อสม. บ้านเขาใน ร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนำสู่สุขภาพดี จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( คณะกรรมการ อสม. หมู่ที่ 1 ตำบลเชิงแส )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด