กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์


“ โครงการอบรมเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน บ้านหนำคอก ”

ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
1.นางวิลาวัลย์ แก้วคง 2.นางผุสดี แสงแก้ว 3.นางศรีสุดา ยดย้อย 4.นางสาวลักขณา ไพศาลธรรม 5.นางสุนัย บัวแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน บ้านหนำคอก

ที่อยู่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน บ้านหนำคอก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน บ้านหนำคอก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน บ้านหนำคอก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาของสาธารณสุขเป็นที่สำคัญของประเทศและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูง เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อนที่สำคัญ เช่น ไตวายเรื้อรัง โรคหัวใจ หลอดเลือด แผลเรื้อรังต่างๆ และที่สำคัญส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่องและยาวนานมีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก ซึ่งจากการดำเนินงานปีที่ผ่านมานั้น พบว่า ประชาชนได้รับการคัดกรองโรคไม่ครอบคลุม เนื่องจากขาดทรัพยากรทางการเงิน คนและของ โดยรูปแบบการทำงานเน้นการทำงานเชิงรับ ทำให้ประชาชนมีแนวโน้มเป็นโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ
    ดังนั้น กลุ่มอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านหนำคอก ต้องการให้ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงได้อย่างทั่วถึงและครอบคลุม และต้องการค้นหาประชาชนในชุมชนที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โดยนำประชากรกลุ่มเสี่ยงดังกล่าวเข้ารับการอบรม เพื่อให้ได้รับองค์ความรู้ที่ถูกต้อง นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลของตนเองจนสามารถมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงกลายเป็นกลุ่มปกติที่ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ จึงได้จัดทำโครงการการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในชุมชนนี้ขึ้นมา โดยมีการดำเนินงานเชิงรุก มีการติดตามและเฝ้าระวังที่บ้านของกลุ่มเสี่ยงอย่างครอบคลุม เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
  2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ในการดูแลตนเอง
  3. เพื่อเฝ้าระวังและติดตาม(กลุ่มเสี่ยง)เพื่อป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  2. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
  3. ประเมินและติดตามเฝ้าระวังการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนได้รับการเข้าถึงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงอย่างทั่วถึงและครอบคลุม ตลอดจนกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับปรุงการดูแลสุขภาพของตนเองให้ดีขึ้นเรื่อยๆ นำไปสู่การมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บและสามารถเป็นแบบอย่างแก่คนในครอบครัวและชุมชนต่อไปได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง

วันที่ 31 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อคัดกรองประชาชน อายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง 50 คน

 

50 0

2. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง

วันที่ 20 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 30 คน

 

50 0

3. ประเมินและติดตามเฝ้าระวังการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 21 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อสม. ลงประเมินและติดตามเฝ้าระวังการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง  3 ครั้ง หลังจากได้รับการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตามเฝ้าระวังการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง 50 คน  3 ครั้ง

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ประชาชนได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และสามารถนำความรู้ไปดูแลสุขภาพของตนเองได้ดีขึ้นร้อยละ 60

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชน (หมู่ที่ 6) อายุตั้งแต่ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ในการดูแลตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของกลุ่มเสี่ยง ได้รับการอบรมให้ความรู้และมีความรู้เพิ่มขึ้นจากเดิม ร้อยละ 20
0.00

 

3 เพื่อเฝ้าระวังและติดตาม(กลุ่มเสี่ยง)เพื่อป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของกลุ่มเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวังและติดตาม สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ในการดูแลตนเอง (3) เพื่อเฝ้าระวังและติดตาม(กลุ่มเสี่ยง)เพื่อป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง (2) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง (3) ประเมินและติดตามเฝ้าระวังการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน บ้านหนำคอก

ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

เกิดความรู้ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

มีรูปแบบการดำเนินโครงการแบบ "การคัดกรองเชิงรุก" ในการค้นหาผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง

เอกสารประกอบในแบบรายงานผลการดำเนินโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

-มีการค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกด้วยการลงสำรวจ -มีการเก็บรวบรวมพฤติกรรมของคนที่มีความเสี่ยง -มีการจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในแต่ละกลุ่ม -มีการแบ่งหน้าที่ผู้ดำเนินโครงการเป็นกลุ่มเพื่อรับผิดชอบงานแต่ละด้าน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

เกิด แกนนำสุขภาพหมู่บ้าน เป็นกลุ่มที่ให้คำแนะนำในด้านการดูแลสุขภาพของประชาชนที่บ้าน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

เกิดแหล่งเรียนรู้ "เรื่องอาหารปลอดสารพิษ" ณ ศุนย์เรียนรู้พัฒนาการเกษตร หมู่ที่ 6 ตำบลท่าโพธิ์

ภาพถ่ายศูนย์เรียนรู้

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

มีพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านสุขภาพดีขึ้น เช่น มีการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น มีการจัดการความเครียดดีขึ้น

ผลการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพ ผลความดันโลหิต /ค่านำ้ตาลในเลือด ในเล่มรายงานผลการดำเนินโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

มีการปฏิบัติตามหลัก "3อ2ส" ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร เช่นการเน้นการกินผักผลไม้ การลดอาหารหวาน มัน เค็ม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

มีการปฏิบัติตามหลัก "3อ2ส" มีพฤติกรรมการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น เช่น การปั่นจักรยาน การเดิน การวิ่ง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

-เนื่องจากได้รับความรู้เกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลทำให้เกิดโรค ส่งผลให้พฤติกรรมการสูบบุหรี่ลดลง -มีแรงจูงใจที่อยากจะมีสุขภาพดีและกลัวการเกิดโรค พฤติกรรมเสี่ยงด้านการดื่มสุราจึงลดลง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

-กลุ่มเสี่ยง มีความกังวลและกลัวการเป็นโรค ทำให้เกิดความระมัดระวังในการใช้ชีวิตด้านอื่นๆ รวมถึงความปลอดภัยในการขับขี่ด้วย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

มีการระบายความวิตกกังวล และความเครียดกับเพื่อนฝูง/เพื่อนบ้าน ทำให้มีมุมมองการดำรงชีวิตแบบคิดบวกมากขึ้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

มีการนำสมุนไพรใกล้ตัวที่ปลูกในบริเวณบ้าน เช่น หัวหอม มะกรูด นำมาปรับใช้เพื่อบรรเทาและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

การจัดการตนเอง -เมื่อเจ็บป่วยจะยอมรับความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้น -มีการดูแลตนเอง และปฏิบัติตนตามคำแนะนำของแพทย์ -มีการเฝ้าระวังพฤติกรรมด้านสุขภาพของตนมากขึ้น (การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการอารมณ์) การจัดการครอบครัว -เมื่อคนในครอบครัวป่วยจะมีการให้กำลังใจ ดูแลผู้ป่วยจนกว่าจะหายจากโรค และให้คำแนะนำเกี่ยวกับความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้อื่น -จะมีความกังวลใจ ไม่สบายใจ กลัวการสูญเสียเมื่อคนในครอบครัวต้องเจ็บป่วย การจัดการชุมชน -มีการจัดการด้านการเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน เช่น ผู้นำชุมชนถ่ายทอดความรู้ให้แก่ลูกบ้าน -มีการขอความร่วมมือให้ร้านค้าเข้ามามีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการให้ร้านค้าให้คำแนะนำแก่ผู้บริโภคในด้านการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี -มีการดำเนินวิถีชีวิต ที่มีการจัดการตนเองแบบ"โบราณ" ในด้านการรับประทานอาหาร การดำเนินชีวิตที่ช่วยให้ปลอดจากโรค การลดพฤติกรรมเสี่ยง -มีการจัดการความรู้ผ่านสื่อออนไลน์ เพื่อให้เข้าถึงการดูแลตนเองด้านสุขภาพได้สะดวกขึ้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

-มีการใช้นำหมักชีวภาพมาแทนที่สารเคมีทางการเกษตรสำหรับปลูกผัก หรือทำการเกษตร -มีการปลูกผักกินเองรอบบริเสณบ้าน เพื่อบริโภคผักมากขึ้น ลดการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

-การมีสุขภาพที่ดีขึ้นจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ส่งผลให้ชีวิตปลอดภัยจากการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และลดการใช้จ่ายสำหรับการรักษาโรค -เนื่องจากมีความกลัวว่าจะเกิดอาการแสดงของโรคกำเริบ ทำให้มีการลดการขับขี่ ส่งผลให้การเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนลดลง -มีการจัดการการปลูกผักในครัวเรือนและในชุมชนเกิดขึ้น โดยมีกลุ่มวัยต่างๆในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม -มีการใช้สื่อความรู้ เช่นป้ายไวนิล ติดในสถานที่สาธารณะของชุมชน เช่น ศาลาประชาคม เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งความรู้ในการปรับเปลี่ยนสุขภาพ -มีการใช้หลักศาสนา (สมาธิ ศีล) มาใช้ในการดูแลสุขภาพ เช่น นั่งสมาธิเพื่อลดความเครียด ทำให้มีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น -มีการรำมโนรา และการแสดงในกิจกรรมต่างๆที่เป็นวัฒนธรรมชุมชน ทำให้มีกิจกรรมทางกายมากขึ้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

มีการนำวิชาความรู้ด้านการปลูกผักในครัวเรือนเพื่อสุขภาพปลอดสารเคมี มาต่อยอดสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

-มีการให้บริการวัดความดันโลหิตที่บ้านเชิงรุก โดยมี อสม. ประจำบ้านคอยให้บริการ -มีการให้บริการสุขภาพ ด้านความรู้สุขภาพ ผ่านช่องทางโซเชียลมิเดียต่างๆ ให้ประชาชนในพื้นที่สามารถเข้าถึงความรู้ดังกล่าวและเข้าถึงระบบกสนทำงานเชิงรุกของกลุ่ม อสม.

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

มีกฏกติกาของกลุ่ม และชุมชน ในการจัดงานพิธีกรรมต่างๆ เช่นงานสพ ให้ลด ละ เลิก การบริการขนมหวานต่างๆ โดยหันมาใช้สมุนไพรแทน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

-อปท. มีการดำเนินกิจกรรมโครงการด้านการป้องกันโรคต่างๆ

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

-มีการเชื่อมโยงการทำงานร่วมกันของกลุ่มต่างๆในชุมชน เช่น กลุ่มผู้นำชุมชน กลุ่ม อสม. กลุ่มชมรมอื่นๆ ร่วมกันแก้ไขปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน -มีการทำงานร่วมกันระหว่างหมู่บ้าน มีการติดต่อประสานงาน ส่งต่อข้อมูลระหว่างกันอย่างต่อเนื่องในการขับเคลื่อนโครงการ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

-มีการนำข้อมูลปัญหาสุขภาพที่ได้จากการลงพื้นที่เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล มาร่วมกันวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา โดยการทำประชาคม การหารือร่วมกันทกฝ่ายในชุมชน -มีการวางแผนโดยแบ่งความรับผิดชอบในกลุ่มแกนนำชุมชน และวางแผนแนวทางการปฏิบัติเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของคนในชุมชน -ลงพื้นที่ตามกลุ่มเป้าหมาย เพื่อคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน รวมถึงให้คำแนะนำ และสาธิตวิธีการดูแลตนเอง เช่นการออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร -มีการติดตามการวัดความดันโลหิต เดือนละ 2 ครั้ง และมีการติดตามพฤติกรรมเสี่ยง เช่นด้านการบริโภคอาหาร -มีการประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินโครงการด้วยการใช้แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพ และแบบประเมินผลความดันโลหิต /ค่านำ้ตาลในเลือด

ผลการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพ ผลความดันโลหิต /ค่านำ้ตาลในเลือด ในเล่มรายงานผลการดำเนินโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

-มีการใช้ทุนของกองทุนหมู่บ้าน กลุ่มออมทรัพย์ มาใช้ในการแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน -มีการนำบุคคลในชุมชนมามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพ และสร้างเสริมสุขภาพให้แก่คนในชุมชน เช่น นำบุคคลที่มีองค์ความรู้มาเป็นวิทยากรในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่คนในชุมชนเอง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

กลุ่ม อสม. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อต่อยอดโครงการ

ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

การมีการจัดกระบวนการเรียนรู้ในชุมชน ได้แก่ การจัดเวทีสุขภาพในชุมชน มีการนำเคล็ดลับสุขภาพต่างๆของคนที่ประสบผลสำเร็จด้านการดูแลสุขภาพมาถ่ายทอดและเป็นตัวอย่างให้แก่คนอื่นๆ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

-สามารถแยก และวิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพที่มีอยู่ นำไปสู่การตัดสินใจแก้ไขปัญหาสุขภาพของคนในชุมชนอย่างตรงจุดและตรงประเด็น -มีทักษะในการจัดทำแผนปฏิบัติการ และการเขียนโครงการดีขึ้น เช่น วิธีการเขียนหลักการและเหตุผล กระบวนการจัดกิจกรรม โดยนำข้อมูลที่มีอยู่ในชุมชนมาใช้เขียนโครงการเพื่อของบประมาณกองทุนฯได้อย่างถูกต้อง

แบบเสนอโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

-ภูมิใจในตนเองเนื่องจากเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนให้สังคมให้ดีขึ้น "เกิดมาไม่เสียปล่าว" -ภูมิใจในกลุ่มองค์กร เนื่องจากมีการรวมกลุ่มเพื่อทำงานด้านการส้รางเสริมสุขภาพให้แก่คนในชุมชนร่วมกัน มีการปรึกษาปัญหา เกิดความเข้าอกเข้าใจ ได้แลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์มากขึ้น -ภูมิใจในชุมชน ที่ชุมชนมีความสามัคคี เข้าใจปัญหาด้านสุขภาพของตนเองและของผู้อื่น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

มีการแลกเปลี่ยนความรู้กัน และได้พบปะกัน ส่งผลให้มีการเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกันทั้งในด้านของประโยชน์ส่วนตนและการทำเพื่อประโยชน์ส่วนรวม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

มีการหันมาดำเนินชีวิตด้วยการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง ใช้หลักการอยู่ร่วมกันแบบเอื้ออาทร มีการแลกเปลี่ยนสิ่งของกันกับครัวเรือนเพื่อนบ้าน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

ชุมชนมีการให้คำแนะนำในด้านการดูแลตนเองด้านสุขภาพ มีการส่งต่อความรู้แบบปากต่อปากในด้านเคล็ดลับการมีสุขภาพดีแก่คนในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

มีการนำข้อมูล/ฐานข้อมูลของชุมชน มาร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาและเเนวทางการแก้ไขปัญหาของชุมชน ผ่านเวทีประชาคม

รายงานการประชุมของกลุ่ม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการอบรมเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน บ้านหนำคอก จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1.นางวิลาวัลย์ แก้วคง 2.นางผุสดี แสงแก้ว 3.นางศรีสุดา ยดย้อย 4.นางสาวลักขณา ไพศาลธรรม 5.นางสุนัย บัวแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด