กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการประกอบอาหารสำหรับผู้พิการและการทำเครื่องดื่มสมุนไพร ”

ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอภิรดี แก้วเอียด, นางสาวกฤษณา จันทร์ละออง, นางเจ๊ะบุเงาะ หลงเจะ, นางสาวสุธารัตน์ แต้หล๊ะ, นางอำภา หนูเกื้อ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการประกอบอาหารสำหรับผู้พิการและการทำเครื่องดื่มสมุนไพร

ที่อยู่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการประกอบอาหารสำหรับผู้พิการและการทำเครื่องดื่มสมุนไพร จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการประกอบอาหารสำหรับผู้พิการและการทำเครื่องดื่มสมุนไพร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการประกอบอาหารสำหรับผู้พิการและการทำเครื่องดื่มสมุนไพร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,030.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ชมรมคนพิการตำบลท่าโพธิ์ มีผู้พิการที่อยู่ในความดูแลทุกประเภท รวมจำนวน 160 ราย ในปีงบประมาณ 2562 ในการดูแลผู้พิการเหล่านี้มีหลายเรื่องที่ทางชมรมสามารถช่วยดูแลได้ เช่น การจัดหาวิทยากรมาให้ความรู้ แก่ผู้ดูแลและผู้ดูพิการในด้านต่างๆ เพื่อที่จะนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ จะเห็นได้ว่าในแต่ละปีมียอดผู้พิการเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สาเหตุหลักที่เกิดขึ้นจะเห็นได้จากการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ ได้รับสารอาหารไม่ครบ 5 หมู่ ในแต่ละมื้อ สืบเนื่องจากผู้ดูแลผู้พิการไม่มีความรู้เรื่องโภชนาการอาหารสำหรับผู้พิการ

ดังนั้น อาหารเป็นส่วนสำคัญในการดำเนินชีวิตของผู้พิการให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เพราะผู้พิการบางประเภทอาจต้องการอาหารแตกต่างกันตามสภาพความพิการ ชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าโพธิ์จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการประกอบอาหารสำหรับผู้พิการ และการทำเครื่องดื่มสมุนไพรขึ้น เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการ อสม. คณะกรรมการชมรม รวมถึงผู้พิการบางประเภท ได้นำความรู้ที่ได้รับในการอบรมเชิงปฏิบัติการในครั้งนี้ ไปประกอบอาหารให้ผู้พิการ หรือผู้ป่วยติดเตียงรับประทาน อันจะส่งผลให้ผู้พิการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ได้รับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์กับตนเองและบุคคลในครอบครัวผู้พิการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแล มีความรู้เรื่องอาหารที่เหมาะสมกับผู้พิการแต่ละประเภท
  2. เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลได้นำความรู้ที่ได้ไปประกอบอาหารที่เหมาะสมกับผู้พิการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมการประกอบอาหารคาวและเครื่องดื่มสมุนไพร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 79
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้พิการและผู้ดูแลมีสุขภาพกายดีขึ้น 2.ผู้พิการและผู้ดูแล ได้รับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์กับตนเอง 3.ครอบครัวผู้พิการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมการประกอบอาหารคาวและเครื่องดื่มสมุนไพร

วันที่ 19 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมการประกอบอาหารคาวและเครื่องดื่มสมุนไพร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าอบรมทั้งสิ้น 80 คน

 

79 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้เข้าอบรมเรียนรู้และเข้าใจการประกอบอาหารและเครื่องดื่มสมุนไพรที่เหมาะกับผู้พิการแต่ละประเภท และได้รับคู่มือการประกอบอาหารกว่า10เมนูที่จะนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้จริง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแล มีความรู้เรื่องอาหารที่เหมาะสมกับผู้พิการแต่ละประเภท
ตัวชี้วัด : ผู้พิการและผู้ดูแลมีสุขภาพกายดีขึ้น
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลได้นำความรู้ที่ได้ไปประกอบอาหารที่เหมาะสมกับผู้พิการ
ตัวชี้วัด : ผู้พิการและผู้ดูแลได้รับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์กับตนเอง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 79
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 79
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแล มีความรู้เรื่องอาหารที่เหมาะสมกับผู้พิการแต่ละประเภท (2) เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลได้นำความรู้ที่ได้ไปประกอบอาหารที่เหมาะสมกับผู้พิการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมการประกอบอาหารคาวและเครื่องดื่มสมุนไพร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการประกอบอาหารสำหรับผู้พิการและการทำเครื่องดื่มสมุนไพร

ระยะเวลาโครงการ 1 สิงหาคม 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

-เกิดองค์ความรู้ในด้านการประกอบอาหารเพื่อสุขภาพสำหรับผู้พิการ และการทำเครื่องดื่มจากสมุนไพร - เกิดความรู้สึกสุขใจ จากการที่ผู้พิการและผู้ดูแลได้ทำกิจกรรมร่วมกัน -เกิดทักษะในการอยู่ร่วมกัน และทำให้ผู้พิการรู้สึกเป็นที่ยอมรับของสังคม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

น้ำสมุนไพรดีท็อกลำไส้

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

เป็นการอบรมให้ความรู้ และฝึกปฏิบัติในการประกอบอาหาร และทำเครื่องดื่มสมุนไพร รวมทั้งมีการฝึกการนวดกดจุดเพื่อลดปวด และคลายกล้ามเนื้อ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

ผู้ดูแลคนพิการหันมาทำอาหารที่เหมาะสมกับผู้พิการ ลดการซื้ออาหารสำเร็จรูป

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ผู้พิการได้รับประทานอาหารที่ย่อยง่าย มีคุณค่าทางอาหารครบ 5 หมู่ และเอื้อต่อการขับถ่าย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

ผู้ดูแลสามารถช่วยเหลือผู้พิการให้มีการออกกำลังกายอย่างเหมาะสม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

ผู้พิการไม่สูบบุหรี่และดื่มสุรา เนื่องจากเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพของตนเอง ไม่ให้มีภาวะแทรกซ้อนหรือโรคอื่นๆเกิดขึ้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

ชุมชนมีการจัดกิจกรรมสำหรับคนพิการ เพื่อให้ให้คนพิการมีสุขภาพจิตที่ดี ได้แก่การเต้นประกอบจังหวะ การร้องเพลง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

มีการนำสมุนไพรที่ปลูกไว้รับประทานเอง เช่น ตะไคร้ อัญชัน นำมาทำน้ำดื่มสมุนไพร

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

การจัดการตนเอง -มีการทำน้ำสมุนไพรไว้ดื่มเอง สำหรับบรรเทาอาการร้อนใน หรือให้ชุ่มคอ
การจัดการครอบครัว -เมื่อคนในครอบครัวเจ็บป่วยจะนำไปพบแพทย์ และจะพยายามลดการใช้ยาแผนปัจจุบันให้มากที่สุด โดยเน้นการทำอาหารให้เป็นยา -จะมีความรู้สึกเครียดและกังวล เมื่อมีคนในครอบครัวเจ็บป่วย การจัดการชุมชน -มีการจัดอบรมผู้ดูแลและคนพิการให้มีความรู้ด้านสุขภาพ และการดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีคุณภาพชีวิตที่ดี -มีการจัดสถานที่สำหรับคนพิการให้สะอาด และสามารถช่วยเหลือตนเองได้มากที่สุดเพื่อลดการพึ่งพาผู้ดูแล -ชุมชนมีกิจกรรมที่ให้ผู้พิการเข้ามามีส่วนร่วมอยู่เสมอ ทำให้ผู้พิการสามารถอยู่ร่วมกับคนปกติได้อย่างมีความสุข -ชุมชนมีความใส่ใจที่จะดูแลเกี่ยวกับการลดการเกิดอบุติเหตุในชุมชน เพื่อไม่ให้เกิดจำนวนคนพิการเพิ่มขึ้นในชุมชน -มีการสื่อสาร และประชาสัมพันธ์กิจกรรมชุมชนกับคนพิการ ทางโทรศัพท์และโซเชียลมิเดีย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

ไม่ใช้สารเคมีในการทำการเกษตร เนื่องจากมีความตระหนักที่จะมีสุขภาพดีด้วยการใช้พืชสมุนไพรและลดการใช้สารเคมี -มีการจัดบ้านและบริเวณบ้านให้เหมาะสมกันการเคลื่อนย้ายตัวเองของคนพิการ เพื่อให้คนพิการสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างสะดวกและปลอดภัย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

-คนพิการมีความปลอดภัยจากการหกล้ม จากการจัดบ้านให้เป็นระเบียบเรียบร้อย -มีการจัดสภาพแวดล้อมในสถานที่สาธารณะให้เอื้อต่อคนพิการ เช่น ราวจับ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

ข้อบัญญัติด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของคนพิการ

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

-มีการประสานงานระหว่างกลุ่มในชุมชน เช่น ชมรมคนพิการ อสม. -มีการประสานงานนอกชุมชน เช่น ชมรมคนพิการมีการนำผู้ดูแลคนพิการไปศึกษาดูงานนอกสถานที่

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

-มีการสำรวจความต้องการและปัญหาที่คนพิการต้องการแก้ไข -มีการประชุม และสำรวจความคิดเห็นสำหรับการจัดทำแผนปฏิบัติการ -มีการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้เพื่อให้คนพิการมีสุขภาพที่ดียิ่งขึ้น -ยังไม่มีการประเมินผลด้วยการใช้ตัวชี้วัดด้านสุขภาพ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการติดตามดูแลความเป็นอยู่ของคนพิการในชุมชนอยู่เสมอ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

มีการส่งต่อความรู้ในการดูแลสุขภาพของคนพิการ เพื่อให้ผู้ดูแลคนอื่นๆสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติได้จริงและเกิดประโยชน์กับคนพิการ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

ยังขาดการนำสถานการณ์สุขภาพของคนพิการในตำบลมาใช้ในการเขียนโครงการและการจัดทำแผนปฏิบัติการ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

ภูมิใจที่ตนเองได้เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ผู้ดูแลและคนพิการสามารถประกอบอาหารได้เอง ทำน้ำดื่มสมุนไพรไว้รับประทานเองได้อย่างถูกต้องตามที่ได้เรียนรู้จากการอบรม -ภูมิใจในองค์กร ที่ได้เป็นตัวแทนในการขับเคลื่อนให้คนพิการในชุมชนมีสุขภาพดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี -ภูมิใจในชุมชนที่ให้ความร่วมมือในการขับเคลื่อน และเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ ร่วมกันนำพืชสมุนไพรในชุมชนมาใช้ในการจัดกิจกรรม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

ผู้ดุแลคนพิการ มีการปลูกพืชสมุนไพรไว้สำหรับรับประทานเอง และหากเหลือจากรับประทานก็สามารถนำไปจำหน่ายสร้างรายได้เสริม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

มีการแบ่งปันสิ่งของ ช่วยกันขับเคลื่อนงานกิจกรรมชุมชนต่างๆ แสดงออกถึงความมีน้ำใจซึ่งกันและกัน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

มีการนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปปรับใช้ ร่วมกับการแสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการประกอบอาหารสำหรับผู้พิการและการทำเครื่องดื่มสมุนไพร จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอภิรดี แก้วเอียด, นางสาวกฤษณา จันทร์ละออง, นางเจ๊ะบุเงาะ หลงเจะ, นางสาวสุธารัตน์ แต้หล๊ะ, นางอำภา หนูเกื้อ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด