กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำน้ำมันนวดสมุนไพร ”

ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายประจวบ อมแก้ว, นายสมนึก บุตรราษฎร์, นายพิชิต ขุนทอง, นางสาวปิยวดี แก้วมานพ, นายมนัส แสงทอง

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำน้ำมันนวดสมุนไพร

ที่อยู่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำน้ำมันนวดสมุนไพร จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำน้ำมันนวดสมุนไพร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำน้ำมันนวดสมุนไพร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พืชสมุนไพรเป็นสิ่งที่อยู่คู่คนไทยมานานหลายปีสรรพคุณและคุณค่าของสมุนไพรไทยอันเป็นสิ่งที่เรียกได้ว่าภูมิปัญญาชาวบ้านเกี่ยวกับพืชสมุนไพรถูกลบเลือนไปเรื่อยๆ และถูกลืมไปในที่สุดซึ่งความเป็นจริงคนส่วนใหญ่ก็พอรู้กันว่าสมุนไพรไทยเป็นสิ่งที่มีคุณค่าใช้ประโยชน์ได้ดี ใช้ได้อย่างกว้างขวางในการรักษาแพทย์แผนไทย เนื่องจากปัจจุบันผู้คนหันมาใช้วิธีการรักษาโรคแผนใหม่มาอย่างยาวนานจนวิชาการแพทย์แผนโบราณที่มีสมุนไพรเป็นยาหลักถูกลืม สมุนไพรที่ปลูกไว้เป็นยารักษาโรครอบบริเวณบ้านหายไปในปัจจุบันทำให้ราคาของสมุนไพรหรือผลิตภัณฑ์หรือสินค้าที่ทำจากสมุนไพรมีราคาสูงขึ้นทำให้สมุนไพรไทยไม่เป็นที่รู้จักสำหรับคนยุคใหม่ทั้งที่สมุนไพรเหล่านั้นอยู่รอบตัวเราและสืบเนื่องจากชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าโพธิ์เคยจัดทำโครงการทําน้ํามันนวดสมุนไพรให้กับสมาชิกชมรมเมื่อปี 2560 ซึ่งในการจัดทำโครงการในครั้งนั้นทำให้ผลตอบรับจากน้ำมันนวดมีความต้องการเพิ่มอีกมากมายแต่สินค้าไม่ได้ทำการผลิตเพิ่มขึ้นเนื่องจากขาดงบประมาณในการจัดทำโครงการ ดังนั้นชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าโพธิ์ได้เห็นถึงความสำคัญของสมุนไพรพื้นบ้านของไทยและเพื่อให้ประชาชนมีทางเลือกในการเลือกการบริการที่หลากหลายนอกเหนือจากการใช้รักษาด้วยแพทย์แผนปัจจุบันดังนั้นการรักษาแพทย์แผนไทยก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งและจะทำให้เกิดการพัฒนาแพทย์แผนไทยในพื้นที่มีการส่งเสริมการปลูกสมุนไพรและใช้สมุนไพรในพื้นที่มีนวัตกรรมด้านการแพทย์แผนไทยในชุมชนทำให้ประชาชนสามารถพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืนสอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชนสมาชิกตระหนักถึงความสัมพันธ์สำคัญของการส่งเสริมการปลูกและแปรรูปสมุนไพรเพื่อสืบสานภูมิปัญญาชาวบ้านจึงได้จัดทำการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำน้ำมันนวดสมุนไพรให้กับสมาชิกชมรมผู้สูงอายุและผู้ที่สนใจในพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความเข้าใจในขั้นตอนการทำน้ำมันนวดแผนไทย
  2. เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพสร้างรายได้ให้แก่ผู้สูงอายุในชุมชน
  3. เพื่อส่งเสริมการพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพการใช้พืชสมุนไพรในพื้นที่และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ทำน้ำมันนวดสมุนไพร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 76
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1สมาชิกผู้สูงอายุได้รับความรู้ในเรื่องของสมุนไพรชนิดต่างๆ 2 สมาชิกผู้สูงอายุได้รับความรู้จากการทำน้ำมันนวดสมุนไพรและสามารถทำใช้รักษาอาการปวดเมื่อยตัวและร่างกายได้ 3 สมาชิกชมรมผู้สูงอายุสามารถต่อยอดการทำน้ำมันนวดสมุนไพรเพื่อจำหน่ายสร้างรายได้ให้แก่ชมรมหรือครอบครัวได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจและได้เรียนรู้ขั้นตอนการทำน้ำมันนวดสมุนไพรด้วยตนเอง และสามารถทำใช้เองได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความเข้าใจในขั้นตอนการทำน้ำมันนวดแผนไทย
ตัวชี้วัด : สมาชิกกลุ่มมีทักษะการเรียนรู้ภูมิปัญญาชาวบ้านเพิ่มขึ้น
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพสร้างรายได้ให้แก่ผู้สูงอายุในชุมชน
ตัวชี้วัด : สมาชิกผู้สูงอายุสามารถทำน้ำมันนวดสมุนไพรไว้ใช้เองได้โดยไม่ต้องหาซื้อจากท้องตลาด
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมการพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพการใช้พืชสมุนไพรในพื้นที่และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 79
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 76
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความเข้าใจในขั้นตอนการทำน้ำมันนวดแผนไทย (2) เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพสร้างรายได้ให้แก่ผู้สูงอายุในชุมชน (3) เพื่อส่งเสริมการพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพการใช้พืชสมุนไพรในพื้นที่และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ทำน้ำมันนวดสมุนไพร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำน้ำมันนวดสมุนไพร

ระยะเวลาโครงการ 1 สิงหาคม 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

เกิดองค์ความรู้ด้านการทำน้ำมันนวดสมุนไพร สำหรับบรรเทาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ บรรเทาอาการปวดบวมกรณีโดนแมลงกัดต่อย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

น้ำมันนวดสมุนไพร

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

มีการอบรมการนวดโดยใช้น้ำมันนวดสมุนไพร

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

เกิดการรวมกลุ่มกันเพื่อทำผลิตภัณฑ์ที่ทำจากสมุนไพร เช่น กลุ่มทำลิปบาล์ม ทำน้ำมันนวดสมุนไพร ทำสมุนไพรไล่ยุง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

มีการตระหนักถึงการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดี ประชาชนหันมาใส่ใจสุขภาพมากขึ้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

เน้นการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ ปลอดสารพิษ ปลูกผักไว้รับประทานเอง ให้ความสนใจในการนำพืชสมุนไพรมาใช้ประโยชน์

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

ใช้นำมันนวดสมุนไพรในการนวดผ่อนคลาย ทำให้ความตึงเครียดลดลงจากการนวด และกลิ่นของน้ำมันนวด

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

มีการนำพืชสมุนไพรในชุมชนมาใช้ประโยชน์ในด้านการดูแลสุขภาพมากขึ้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

การจัดการตนเอง -เมื่อเจ็บป่วยเล็กน้อยจะใช้สมุนไพรมาช่วยรักษาอาการป่วยขั้นพื้นฐาน หากอาการไม่ทุเลาลงภายใน 1-2 วัน จะรีบไปพบแพทย์ -จะเน้นการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ อาหารปลอดสารพิษ
การจัดการครอบครัว -หากคนในครอบครัวเจ็บป่วยเล็กน้อยจะใช้สมุนไพรมาช่วยรักษาอาการป่วยขั้นพื้นฐาน หากอาการไม่ทุเลาลงภายใน 1-2 วัน จะรีบพาไปพบแพทย์ -จะรู้สึกเป็นห่วง กังวลเมื่อคนในครอบครัวเจ็บป่วยและจะหาวิธีการเพื่อให้คนในครอบครัวหายจากอาการป่วย การจัดการชุมชน -มีการส่งต่อความรู้ที่ได้รับจากการอบรมการทำน้ำมันนวดสมุนไพร ไปยังคนอื่นๆในชุมชน -ชุมชนมีการกำจัดวัชพืชเพื่อเพิ่มพื้นที่ชุมชนในการปลูกพืชสมุนไพร -มีการดำเนินชีวิตด้วยการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ด้วยการปลูกพืชสมุนไพรไว้ใช้เอง -สมันสนุนให้ประชาชนรู้คุณค่าของสมุนไพรที่มีในท้องถิ่น และสร้างกระแสให้คนในชมชนหันมานิยมการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากสมุนไพร หรือนำสมุนไพรมาใช้ประโยชน์

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

-มีการส่งเสริมการทำปุ๋ยอินทรีย์ไว้ใช้เอง โดยใช้พืชและมูลสัตว์เป็นส่วนผสมหลัก -มีการจัดบ้านและบริเวณบ้านให้เป็นสัดส่วน พื้นที่ที่ใช้ในการปลูกพืชสมุนไพรเป็นระเบียบ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

มีการจำหน่ายน้ำมันนวดสมุนไพรทางออนไลน์ เพื่อสร้างรายได้เสริม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

มีบริการพอกเข่า แช่มือแช่เท้า โดยใช้สมุนไพร

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

มีการสนับสนุนงบประมาณกองทุนตำบลสำหรับให้กลุ่มองค์กรดำเนินโครงการด้านสุขภาพ

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

-มีการประสานการทำงานระหว่างกลุ่มในชุมชน เช่น รพสต. อบต. ชมรมผู้สูงอายุ เพื่อขับเคลื่อนโครงการ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

-มีการสำรวจความต้องการและปัญหาของกลุ่มผู้สูงอายุ เพื่อนำไปออกแบบการจัดทำโครงการ -มีการวางแผนการจัดโครงการด้านผู้เข้าร่วมโครงการ ด้านงบประมาณ ดำเนินงานตามแผนงานที่วางไว้
-มีการติดตามโดยการสอบถามว่าผู้เข้าร่วมอบรมได้นำความรุ้ไปใช้จริงหรือไม่ -ยังไม่มีแบบประเมินหรือตัวชี้วัดสุขภาพในการประเมินผลสัมฤทธิ์ของการจัดทำโครงการ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

มีการให้นักปราชญ์ชาวบ้านมาให้ความรู้ด้านต่างๆเกี่ยวกับสมุนไพร

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการผลิตผลิตภัณฑ์น้ำมันนวดสมุนไพรหลังจากเสร็จสิ้นโครงการเพื่อจำหน่ายสร้างรายได้ให้กับชมรมผู้สูงอายุ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

มีการถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับจากการอบรมให้กับนักเรียนในสถานศึกษาในพื้นที่

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

-ภูมิใจในตนเอง ที่มีโอกาสได้เพิ่มพูนความรู้ที่ได้รับจากการเข้าอบรม และมีส่วนช่วยสนับสนุนให้คนในชุมชนหันมาเห็นความสำคัญของผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร -ภูมิใจในองค์กรที่มีความสามัคคี เป็นทีมนำที่ทำให้เกิดโครงการด้านการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน และสร้างรายได้ให้แก่กลุ่มด้วยการจำหน่ายน้ำมันนวดสมุนไพร -ภูมิใจที่คนในชุมชนเห็นแก่ส่วนรวม ให้ความร่วมมือเข้าร่วมกิจกรรม และช่วยเหลือกันเพื่อให้คนในชุมชนมีสุขภาพดี

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

มีการแบ่งเวลาบางส่วนเพื่อมาทำกิจกรรมของชุมชน ที่จะทำให้เกิดการเเลกเปลี่ยนความรู้ และเกิดการแบ่งปัน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีการปลูกพืชผัก รวมถึงสมุนไพรไว้รับประทานเอง ลดรายจ่าย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

ชุมชนมีการช่วยเหลือกัน มีการไปเยี่ยมเยือนเพื่อนบ้าน ไม่ได้ต่างคนต่างอยุ่

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

มีการนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมด้านการทำผลิตภัณฑ์น้ำมันนวดสมุนไพรไปปฏิบัติ และใช้จริงในชีวิตประจำวัน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำน้ำมันนวดสมุนไพร จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประจวบ อมแก้ว, นายสมนึก บุตรราษฎร์, นายพิชิต ขุนทอง, นางสาวปิยวดี แก้วมานพ, นายมนัส แสงทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด