กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ


“ โครงการการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ”

ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาดไข่เต่า

ชื่อโครงการ โครงการการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร

ที่อยู่ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3332-1-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 กันยายน 2563 ถึง 21 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3332-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 กันยายน 2563 - 21 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,360.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากข้อมูลกรมอนามัยรายงานการคลอดในประเทศไทยพบว่าในปี 2562 มีจำนวนแม่วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์โดยไม่ได้ตั้งใจ ซึ่งเกิดจากการไม่ได้คุมกำเนิดและคุมกำเนิดล้มเหลว คิดเป็นร้อยละ 51.2 ของการคลอดทั้งหมดสืบเนื่องจากส่วนใหญ่เยาวชนไม่มีความรู้ เรื่องการคุมกำเนิด ขาดทักษะชีวิต ไม่รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจของตนเอง และสาเหตุที่สำคัญที่สุดคือความเจริญของเทคโนโลยี สื่อที่ทันสมัย ที่เอื้อต่อการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ประกอบกับระบบขัดเกลาทางสังคมระดับครอบครัวอ่อนศักยภาพลง เพราะพ่อแม่ผู้ปกครองต้องใช้เวลาส่วนใหญ่ในการประกอบอาชีพ และคาดหวังว่าระบบการขัดเกลาของสถาบันการศึกษาสามารถทำหน้าที่ทดแทนครอบครัวได้ แต่ในความเป็นจริงแล้ว ครอบครัวยังคงมีบทบาทสำคัญที่ต้องดูแลและขัดเกลาบุตรหลาน และปัญหาดังกล่าวยังเป็นเรื่องที่ทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันหาแนวทางป้องกันและแก้ไข ปัจจุบันพบว่าเด็กและเยาวชนมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย คือประมาณ 12 ปี ซึ่งเด็กในวัยนี้ยังขาดวุฒิภาวะและความรับผิดชอบของตัวเอง ดังนั้นจึงมีความเสี่ยงด้านต่างๆ เช่น เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม การติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ (HIV) การทำแท้ง การคลอดบุตรแล้วนำไปทิ้ง ทารกน้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่า 2,500 กรัม และยังมีผลต่อการออกจากโรงเรียนกลางคัน รวมทั้งการไม่พร้อมต่อการเลี้ยงลูก มีกระทำความรุนแรงในครอบครัว ครอบครัวแตกแยก และยังอาจจะเกิดปัญหาสังคมอื่นๆตามมาอีกมากมาย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาดไข่เต่า ตำบลนาปะขออำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง พบว่าได้มีกลุ่มเด็กและเยาวชนที่ประสบปัญหาแม่วัยรุ่นตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรอยู่เป็นจำนวนมากพอสมควรและนับวันจะเพิ่มจำนวนมากขึ้น เนื่องจากเทคโนโลยีของการสื่อสารที่ทันสมัย ทำให้กลุ่มเด็กและเยาวชนใช้สื่อดังกล่าวในทางที่ไม่ถูกต้อง เป็นเหตุให้มีแนวโน้มที่จะประสบปัญหาดังกล่าวมากขึ้น ประกอบกับเยาวชนส่วนใหญ่ได้รับการศึกษาแค่ระดับมัธยมตอนต้นไม่ศึกษาต่อ และออกมาประกอบอาชีพ เช่น ลูกจ้าง เกษตรกรรม และทำงานในประเทศเพื่อนบ้าน ทำให้ขาดความรู้ ความเข้าใจในหลักการดำเนินชีวิตที่ถูกต้อง ทั้งยังไม่สามารถยับยั้งอารมณ์ชั่ววูบ หรือความรู้สึกนึกคิด ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่สุดที่จะกำหนดชีวิตคนเราให้รู้จักผิดชอบ ชั่วดีได้ ดั้งนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาดไข่เต่า จึงร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง และโรงเรียนในพื้นที่ จึงจัดทำโครงการป้องการการตังครรภ์ก่อนวัยอันควร ประจำปี 2563 ขึ้น เพื่อเป็นการเสริมสร้าง ค่านิยมใหม่ให้กับวัยรุ่นไทย ให้รู้จัก และเห็นคุณค่าของตัวเอง เป็นการป้องกันและแก้ไข้ปัญหาโรคที่มาจากเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นให้ลดน้อยลงและวัยรุ่น สามารถดำรงชีวิตที่ถูกต้องห่างไกลปัญหาดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
  2. เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่น เอชไอวี (HIV) ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเชิงปฏิบัติการให้แก่นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหาดไข่เต่าและโรงเรียนบ้านปากพล จำนวน 40 คน เรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าอบรมฯ มีภูมิคุ้มกัน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
  2. ผู้เข้าอบรมฯ สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่น เอชไอวี (HIV)ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่น เอชไอวี (HIV) ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนสามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่น เอชไอวี (HIV) ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร (2) เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่น เอชไอวี (HIV)  ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเชิงปฏิบัติการให้แก่นักเรียน  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหาดไข่เต่าและโรงเรียนบ้านปากพล จำนวน 40 คน เรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3332-1-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาดไข่เต่า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด