กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต


“ โครงการพัฒนาบทบาทครอบครัว ชุมชน และภาคีเครือข่าย ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ”

ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางวนิดา สนิ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาบทบาทครอบครัว ชุมชน และภาคีเครือข่าย ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์

ที่อยู่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L8423-01-04 เลขที่ข้อตกลง 15/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 สิงหาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาบทบาทครอบครัว ชุมชน และภาคีเครือข่าย ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาบทบาทครอบครัว ชุมชน และภาคีเครือข่าย ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาบทบาทครอบครัว ชุมชน และภาคีเครือข่าย ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L8423-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 สิงหาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การตั้งครรภ์เป็นระยะพัฒนาการที่สำคัญของครอบครัว โดยเฉพาะการตั้งครรภ์ครั้งแรกการตั้งครรภ์ทำให้ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากทั้งในด้านกายวิภาค ชีวเคมี และสรีรวิทยา การเปลี่ยนแปลงนี้ดำเนินไปตลอดการตั้งครรภ์และร่างกายจะมีการปรับตัวอย่างมากมายกับ การเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆของร่างกายที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างสลับซับซ้อนสัมพันธ์กับปัจจัยต่างๆ เช่น สภาพแวดล้อม เพื่อเตรียมสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์และเตรียมความพร้อมสำหรับการคลอด นอกจากนี้หญิงตั้งครรภ์  ยังต้องปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคม เช่น บทบาทหน้าที่ ภาพลักษณ์ สัมพันธภาพกับครอบครัว เป็นต้น
          เป้าหมายสูงสุดของงานอนามัยแม่และเด็กที่สำคัญประการหนึ่ง คือ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย โดยมีกลวิธีที่จะบรรลุเป้าหมายดังกล่าว ได้แก่ การให้บริการตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์และขณะตั้งครรภ์ การดูแลขณะเจ็บครรภ์คลอด การประเมินภาวะเสี่ยงของมารดาขณะตั้งครรภ์จะสามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาทั้งที่จะเกิดแก่มารดาและทารกได้ ปัจจัยด้านอายุมารดาที่อายุน้อยและมารดาที่อายุมากมีผลต่อการตั้งครรภ์และการคลอดทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม เช่น การคลอดก่อนกำหนด วิธีการคลอด น้ำหนักทารกแรกเกิด และการตายของมารดาและทารกปริกำเนิด ปัญหาการตั้งครรภ์เหล่านี้เป็นผลมาจากการตั้งครรภ์ในช่วงอายุที่ไม่เหมาะสม ภาวะเสี่ยงต่างๆขณะตั้งครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์ การดูแลสุขภาพตนเองขณะตั้งครรภ์ ทั้งในเรื่องการรับบริการฝากครรภ์ที่ครบตามเกณฑ์ ด้านโภชนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การออกกำลังกาย และ การพักผ่อนเพื่อผ่อนคลาย รวมไปถึงการดูแลสุขภาพจิตใจและการปรับตัวเพื่อรับการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านด้านร่างกาย ด้านจิตใจ และด้านสังคมเพื่อรองรับบทบาทหน้าที่ และภาพลักษณ์ใหม่ที่จะเกิดขึ้น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ๊ะเก เป็นพื้นที่หนึ่งที่มีการตั้งครรภ์และการเพิ่มตามธรรมชาติที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสถานการณ์ของงานอนามัยแม่และเด็กในปี 2562                                                                      ที่ผ่านมามีผลงานที่สำคัญและเร่งด่วนในการแก้ปัญหา ดังนี้คือ 1.ภาวะซีดของหญิงตั้งครรภ์ซึ่งยังอยู่ในอัตราที่สูงห้ามเกินร้อยละ 10 ผลงานอยู่ที่ร้อยละ 12.56 อัตราของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ห้ามเกินร้อยละ 7 ผลงานอยู่ที่ร้อยละ 13.73 และผลงานอีกหลายประการที่ถึงแม้จะถึงเกณฑ์แต่ก็ต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เช่น การฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ การฝากครรภ์ครบ 4 ครั้งตามเกณฑ์และการคลอดในสถานบริการ จากสถานการณ์ดังกล่าว จึงได้หาวิธีการเพื่อปรับปรุงการให้บริการในงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ๊ะเกขึ้น เพื่อพัฒนาการให้บริการในงานอนามัยแม่และเด็กต้องมีการปรับรูปแบบและกลวิธีการให้บริการที่สอดคล้องกับความต้องการตามความเหมาะสมของมาตรฐานการบริการสาธารณสุขและด้านวัฒนธรรม ซึ่งจะก่อให้เกิดคุณภาพการบริการที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน สามารถช่วยให้หญิงตั้งครรภ์ดำเนินชีวิตได้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ ปรับวิถีชีวิตและดูแลตนเองให้ดำเนินไปได้ภายใต้ความผันแปรของช่วงพัฒนาการ เพื่อคุณภาพชีวิตของมารดาและทารก โดยมุ่งมั่นที่จะน้อมนำหลักการและรูปแบบของอิสลามมาประยุกต์ใช้ในงานบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กอย่างเต็มที่ ทั้งรูปแบบของการให้บริการ วิธีการให้การดูแลมารดาและทารกในครรภ์ที่จะต้องใช้หลักการอิสลาม การตั้งครรภ์แบบอิสลาม การส่งเสริมสุขภาพในขณะตั้งครรภ์แบบอิสลาม ซึ่งเป็นวิธีที่สมบูรณ์แบบที่สุดแล้วในการดำเนินชีวิตของผู้คน ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ๊ะเก ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส  เล็งเห็นถึงความสำคัญที่จะจัดให้มีโครงการพัฒนาบทบาทครอบครัว ชุมชน และภาคีเครือข่ายในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว นำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตหญิงตั้งครรภ์ให้ได้รับบริการและให้การดูแลครบมาตรฐาน มีสุขภาพที่ดีและคลอดบุตรแล้วยังเป็นการส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายสามารถดูแลสุขภาพได้อย่างสอดคล้องกับบริบทวิถีมุสลิม เป็นไปตามครรลองของศาสนาได้ทั้งสุขภาพดีและได้ทั้งบุญ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์เข้ารับการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 4 ครั้งตามเกณฑ์
  3. เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์
  4. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์คลอดในสถานบริการสาธารณสุข
  5. เพื่อให้คู่สามีภารยาที่ภารยาอยู่ในระหว่างตั้งครรภ์ มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และการดูแลหลังคลอดอย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมบทบาทครอบครัวในการดูแลหญิงตั้งครรภ์
  2. จัดอบรมภาคีเครือข่ายส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก
  3. การจัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพหญิงวัยเจริญพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพกาย สุขภาพใจที่สมบูรณ์แข็งแรง มีความพร้อมในการตั้งครรภ์ตลอดจนมีความพร้อมในการต้อนรับการมีลูกน้อยทั้งในเรื่องของทักษะการเลี้ยงดูและการมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงทุกประการทั้งมารดาและบุตร
  2. เกิดสายใยรักแห่งครอบครัว ที่จะนำไปสู่การเป็นครอบครัวที่สมบูรณ์แบบในเรื่องความรัก ความเข้าใจ และความอบอุ่นในสายสัมพันธ์อย่างมั่นคงและยั่งยืน นำมาซึ่งความสุขของทุกๆคนในครอบครัว
  3. สานต่อหลักธรรมนำสุขภาพให้ประจักษ์แก่มวลมนุษย์ ว่าหลักการอิสลามเป็นความสมบูรณ์แบบในทุกวิถีแห่งชีวิต ไม่เว้นแม่กระทั่งวิถีแห่งสุขภาพ อิสลามยังมีการกล่าวถึง ใช้ประโยชน์ได้จริง ได้ผล แก้ปัญหาประชาชาติได้ทั้งปวง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์เข้ารับการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 4 ครั้งตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์คลอดในสถานบริการสาธารณสุข
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 เพื่อให้คู่สามีภารยาที่ภารยาอยู่ในระหว่างตั้งครรภ์ มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และการดูแลหลังคลอดอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 220
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์เข้ารับการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 4  ครั้งตามเกณฑ์ (3) เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ (4) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์คลอดในสถานบริการสาธารณสุข (5) เพื่อให้คู่สามีภารยาที่ภารยาอยู่ในระหว่างตั้งครรภ์ มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองในระยะตั้งครรภ์  ระยะคลอด และการดูแลหลังคลอดอย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมบทบาทครอบครัวในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ (2) จัดอบรมภาคีเครือข่ายส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก (3) การจัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพหญิงวัยเจริญพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาบทบาทครอบครัว ชุมชน และภาคีเครือข่าย ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L8423-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวนิดา สนิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด