กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค มะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดหัวใจ ชุมชนวัดโคกคีรี ”

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
จินดา ศรีนาค

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค มะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดหัวใจ ชุมชนวัดโคกคีรี

ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 020232560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค มะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดหัวใจ ชุมชนวัดโคกคีรี จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค มะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดหัวใจ ชุมชนวัดโคกคีรี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค มะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดหัวใจ ชุมชนวัดโคกคีรี " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 020232560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ปัจจุบัน คนในเขตเมืองเทศบาลเมืองพัทลุง มีความปลอดภัยด้านสุขภาพที่ป้องกันได้ด้วยไม่ติดต่อโรคเรื้อรังน้อยลง หรือมีความเสี่ยงในเรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจากพฤติกรรมเสี่ยงสูงขึ้น จากความไม่ตระหนัก หรืออาจจะยังไม่เห็นความสำคัญ และโรคดังกล่าว ใช้เวลาในการเกิดอาการค่อนข้างนาน แต่เมื่อเป็นแล้วทำให้เกิดความสิ้นเปลื้องในการรักษาพยาบาล เพราะอาจต้องใช้ระยะเวลาที่เหลือทั้งชีวิต ทุ่มเทกับการรักษา ทำให้สภาพเศรษฐกิจของครอบครัวแย่ลง จากที่ อสม.ได้ทำการคัดกรองและเฝ้าระวังสุขภาพของสมาชิกกลุ่มเป้าหมายในชุมชน พบว่ามีสมาชิกที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นจำนวนมาก บ้างก็มีอาการของโรคแล้ว จึงเห็นความจำเป็นที่ต้องรณรงค์การป้องกัน และการติดตามเฝ้าระวังอย่าให้โรคมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น จึงได้จัดทำโครงการ ฯเพื่อให้ประชาชนในชมชน เห็นความสำคัญของการเป็นโรค และสามารถได้เข้าถึงบริการการคัดกรองสุขภาพ ร่วมกันดูแลสุขภาพและเฝ้าระวังสมาชิกในครอบครัวได้อย่างถูกต้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. ประชาชนเห็นความสำคัญของการลดโรค มีความรู้ความเข้าใจให้ครอบคลุมทั้งชุมชน ข้อที่ 2. ประชาชนได้ตระหนัก ในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง และบุคคลในครอบครัว ข้อที่ 3. สมาชิกของชุมชนได้ปลูกผักกินเอง และนำมาแลกเปลี่ยน ตลอดจนขายเพื่อเพิ่มรายได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. คนในชุมชนมีสุขภาพที่ดี
    2. คนในชุมชนมีผักปลอดสารพิษบริโภค เป็นการลดรายจ่าย
    3. คนในชุมชนพึ่งพาอาศัย ซึ่งกันและกัน ร่วมดูแลสุขภาพ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. สรุปผลการดำเนินงานอบรมเชิงปฏิบัติสร้างความรู้และคัดกรองสุขภาพ

    วันที่ 15 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง จำนวน 80 ราย คิดเป็นร้อยละ 100% และสามารถนำความรู้ที่ได้ ไปถ่ายทอดให้กับสมาชิกคนอื่นในครอบครัวและในชุมชนได้ 2.กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ จากทีมสุขภาพ จำนวน 75 ราย คิดเป็นร้อยละ 93.75 % 3.ประชาชนในชุมชนมีการปลูกปลอดสารพิษไว้ทานเองเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ลดภาวะการเจ็บป่วย จำนวน 80 ราย

     

    80 80

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง จำนวน 80 ราย คิดเป็นร้อยละ 100% และสามารถนำความรู้ที่ได้ ไปถ่ายทอดให้กับสมาชิกคนอื่นในครอบครัวและในชุมชนได้ 2.กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ จากทีมสุขภาพ จำนวน 75 ราย คิดเป็นร้อยละ 93.75 % 3.ประชาชนในชุมชนมีการปลูกปลอดสารพิษไว้ทานเองเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ลดภาวะการเจ็บป่วย จำนวน 80 ราย

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ข้อที่ 1. ประชาชนเห็นความสำคัญของการลดโรค มีความรู้ความเข้าใจให้ครอบคลุมทั้งชุมชน ข้อที่ 2. ประชาชนได้ตระหนัก ในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง และบุคคลในครอบครัว ข้อที่ 3. สมาชิกของชุมชนได้ปลูกผักกินเอง และนำมาแลกเปลี่ยน ตลอดจนขายเพื่อเพิ่มรายได้
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรม มีความรู้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ 80) 2.ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองสุขภาพ 3.ครัวเรือนมีการปลูกผัก ปลอดสารพิษกินเอง มีกลุ่มออกกำลังกายที่หลากหลายตามความชอบของคนในชุมชน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. ประชาชนเห็นความสำคัญของการลดโรค มีความรู้ความเข้าใจให้ครอบคลุมทั้งชุมชน
    ข้อที่ 2. ประชาชนได้ตระหนัก ในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง และบุคคลในครอบครัว ข้อที่ 3. สมาชิกของชุมชนได้ปลูกผักกินเอง และนำมาแลกเปลี่ยน ตลอดจนขายเพื่อเพิ่มรายได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค มะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดหัวใจ ชุมชนวัดโคกคีรี จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 020232560

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( จินดา ศรีนาค )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด