กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะดุนง


“ โครงการเยาวชนกู้ภัยต้านโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”

ตำบลกะดุนง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวยัสมีน เซาะมะ

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนกู้ภัยต้านโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ที่อยู่ ตำบลกะดุนง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3052-02-04 เลขที่ข้อตกลง 4/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 ตุลาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชนกู้ภัยต้านโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะดุนง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะดุนง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนกู้ภัยต้านโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชนกู้ภัยต้านโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะดุนง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3052-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 30 ตุลาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะดุนง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามที่กระทรวงสาธารณสุข ได้แจ้งสถานการณ์ทั่วโลกใน 38 ประเทศ ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2563 (17.00 น.) พบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อจำนวน 7,342,333 ราย เสียชีวิต 414,123 ราย สำหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อรักษาในโรงพยาบาล 3,125 ราย รักษาหายกลับบ้านแล้ว 2,981 ราย เสียชีวืต 58 ราย (ข้อมูลจาก : รายงานข่าวกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ศูนย์ปฏิบัติการด้านข่าว โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 10 มิถุนายน 2563) โดยสภาเด็กและเยาวชนตำบลกะดุนง รวมตัวกันและร่วมมือกับอสม.ตำบล และเจ้าหน้าที่ รพ.สต.กะดุนง ให้ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคนี้เพื่อให้ประชาชนในชุมชนเกิดความตระหนักในการเฝ้าระวัง ป้องกันดูแลตนเองและสุขอนามัยต่างๆ ให้ห่างไกลจากโรค และสอนวิธีการล้างมือที่ถูกต้องให้กับประชาชน ในพื้น และมอบหน้ากากผ้า ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ตำบลกะดุนง เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยป้องกันการแพร่ระบาด
ทั้งนี้ การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในเขตพื้นที่ ได้แก่ หน่วยบริการ สถานบริการหน่วยงานสาธารณสุข สถานประกอบการ สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก หน่วยราชการ ห้างสรรพสินค้า ชุมชน และบริการสาธารณะต่างๆ เขตในพื้นที่ความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลกะดุนง สภาเด็กและเยาวชนตำบลกะดุนง รับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับการติดตามเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงด้านสาธารณสุข ตามมาตรการแก้ไขสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของกรมอนามัยและกระทรวงมหาดไทย ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ให้เฝ้าระวังประชาชนกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ มัสยิดในพื้นที่ตำบลกะดุนง ประชาชนกลุ่มเสียง เช่น ผู้ป่วยติดเตียง,ผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงโรคเรื้อรัง เป็นต้น จึงต้องมีมาตรการแก้ไขสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ซึ่งยอมาจาก “Coronavirus disease 2019” เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส ที่ระบาดเมื่อปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลัน ปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มลฑลหูเป่ย ประเทศจีน จากที่มีผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวดใหญ่เป็นจำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนไข้เหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและได้ว่าเป็นเชื้อ ไวรัสโคโรนา ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ 7 ที่ถูกค้นพบ เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) และเมอร์ส (MERS)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๓.๑ เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) สำหรับกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ มัสยิดในพื้นที่ตำบลกะดุนง ประชาชนกลุ่มเสียง เช่น ผู้ป่วยติดเตียง,ผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงโรคเรื้อรัง เป็นต้น ในพื้นที่ตำบลกะดุนง
  2. ๓.๒ เพื่อคัดกรอง และเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคจากผู้เดินทางซึ่งมาจากท้องที่หรือเมืองท่านอกราชอาณาจักร เพื่อป้องกันเชื้อเข้าสู่หมู่บ้าน/ชุมชน
  3. ๓.๓ เพื่อสนองแนวนโยบายของรัฐตามมาตรการของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) และลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาด และตามกรอบที่กฎหมายกำหนดไว้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    7.1 ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่อได้ 7.2 ประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลกะดุนง ได้รับการป้องกันการติดเชื้อจากโรคติดต่อ 7.3 การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ 7.4 เด็กและเยาวชนตำบลกะดุนง ได้รับความรู้การป้องกันตนเองและเป็นส่วนหนึ่งในการดูแลชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๓.๑ เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) สำหรับกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ มัสยิดในพื้นที่ตำบลกะดุนง ประชาชนกลุ่มเสียง เช่น ผู้ป่วยติดเตียง,ผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงโรคเรื้อรัง เป็นต้น ในพื้นที่ตำบลกะดุนง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 ๓.๒ เพื่อคัดกรอง และเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคจากผู้เดินทางซึ่งมาจากท้องที่หรือเมืองท่านอกราชอาณาจักร เพื่อป้องกันเชื้อเข้าสู่หมู่บ้าน/ชุมชน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 ๓.๓ เพื่อสนองแนวนโยบายของรัฐตามมาตรการของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) และลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาด และตามกรอบที่กฎหมายกำหนดไว้
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๓.๑ เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) สำหรับกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ มัสยิดในพื้นที่ตำบลกะดุนง ประชาชนกลุ่มเสียง เช่น ผู้ป่วยติดเตียง,ผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงโรคเรื้อรัง เป็นต้น ในพื้นที่ตำบลกะดุนง (2) ๓.๒ เพื่อคัดกรอง และเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคจากผู้เดินทางซึ่งมาจากท้องที่หรือเมืองท่านอกราชอาณาจักร เพื่อป้องกันเชื้อเข้าสู่หมู่บ้าน/ชุมชน (3) ๓.๓ เพื่อสนองแนวนโยบายของรัฐตามมาตรการของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) และลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาด และตามกรอบที่กฎหมายกำหนดไว้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเยาวชนกู้ภัยต้านโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 63-L3052-02-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวยัสมีน เซาะมะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด