โครงการติตามดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ชุมชนวัดภูผาภิมุข
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการติตามดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ชุมชนวัดภูผาภิมุข ”
อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางชุติญา ทองนุ่น
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการติตามดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ชุมชนวัดภูผาภิมุข
ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 020182560 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการติตามดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ชุมชนวัดภูผาภิมุข จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการติตามดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ชุมชนวัดภูผาภิมุข
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการติตามดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ชุมชนวัดภูผาภิมุข " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 020182560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อกันอันเกี่ยวเนื่องมาจากพฤติกรรมและวิถีชีวิตมีแนวโน้มสูง เช่น การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นสาเหตุการตายในอันดับต้นๆของประเทศโรคไม่ติดต่อเป็นโรคที่ป้องกันได้ โดยประชาชนจะต้องดูแลตนเองด้วยการมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง รับประทานอาหารที่เหมาะสม ควบคุมน้ำหนัก ออกกำลังกาย ควบคุมความเครียด และตรวจคัดกรองสุขภาพ ตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขในประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ควรได้รับการค้นหาภาวะเสี่ยงทุกปี เมื่อมาวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงชุมชนวัดภูผาภิมุข ตั้งแต่ปี 2557 - 2559 พบว่ามีแนวโน้มที่สูงขึ้นทุกปี โดยในปี 2557 มีจำนวน 106 คน คิดเป็น ร้อยละ 37.5 ปี 2558 มีจำนวน 116 คน คิดเป็น ร้อยละ 38.82 และ ปี 2559 มีจำนวน 122 คน คิดเป็นร้อยละ 42.21 ตามลำดับ เมื่อนำมาเปรียบเทียบส่วนมากเป็นคนเดิมและบางคนได้กลายเป็นผู้ป่วยไปแล้วทั้งได้รับคำแนะนำเบื้องต้น และได้รับการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทุกปี แต่ได้รับการอบรม ปีละ 10คน เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการอบรม ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิดและมีคุณภาพ อสม./แกนนำชุมชน จึงได้จัดทำโครงการติดตามดูแลสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เพื่อดูแลสุขภาพประชาชนในเขตรับผิดชอบให้มีคุณภาพชีวิตดีขึ้นไม่ป่วยเป็นโรคและกลับมาเป็นกลุ่มปกติ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม
2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลและมีพฤติกรรมดีขึ้นกลายเป็นกลุ่มปกติ
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลและมีพฤติกรรมดีขึ้นกลายเป็นกลุ่มปกติ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองลดโอกาสการเป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
2. กลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลที่ถูกต้องเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ขั้นเตรียมการ
วันที่ 13 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.รวบรวมกลุ่มเสี่ยง
2.ประชุมชี้แจง อสม.ที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงานและฟื้นฟูความรู้เรื่องการติดตามดูแลสุขภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อสม. ที่เกี่ยวข้องกับโครงการได้รับทราบ แนวทางกำหนดการดำเนินกิจกรรม เพื่อวางแผนการดำเนินงานและและฟื้นฟูความรู้เรื่องการติดตามดูแลสุขภาพ
10
10
2. ขั้นดำเนินการ
วันที่ 13 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
30
30
3. ติตามและสรุปผล
วันที่ 13 มิถุนายน 2560 เวลา 16:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงาน จัดทำรูปเล่มสรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้รับผิดชอบโครงการได้ทราบผลสรุปของการดำเนินงานโครงการและรวบรวมเล่มรายงาน
10
10
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้น 80.95%
2.กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ เมื่อติดตามดูแล กลาเป็นกลุ่มปกติ จำนวน 11 ราย คิดเป็น 64.70%
3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม
2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลและมีพฤติกรรมดีขึ้นกลายเป็นกลุ่มปกติ
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองสมัครใจเข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
2. กลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการดูแลกลายเป็นกลุ่มปกติร้อยละ 50
2
เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลและมีพฤติกรรมดีขึ้นกลายเป็นกลุ่มปกติ
ตัวชี้วัด : เสี่ยงที่ได้รับการดูแลกลายเป็นกลุ่มปกติร้อยละ 50
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม
2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลและมีพฤติกรรมดีขึ้นกลายเป็นกลุ่มปกติ (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลและมีพฤติกรรมดีขึ้นกลายเป็นกลุ่มปกติ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการติตามดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ชุมชนวัดภูผาภิมุข จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 020182560
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางชุติญา ทองนุ่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการติตามดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ชุมชนวัดภูผาภิมุข ”
อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางชุติญา ทองนุ่น
กันยายน 2560
ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 020182560 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการติตามดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ชุมชนวัดภูผาภิมุข จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการติตามดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ชุมชนวัดภูผาภิมุข
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการติตามดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ชุมชนวัดภูผาภิมุข " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 020182560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อกันอันเกี่ยวเนื่องมาจากพฤติกรรมและวิถีชีวิตมีแนวโน้มสูง เช่น การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นสาเหตุการตายในอันดับต้นๆของประเทศโรคไม่ติดต่อเป็นโรคที่ป้องกันได้ โดยประชาชนจะต้องดูแลตนเองด้วยการมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง รับประทานอาหารที่เหมาะสม ควบคุมน้ำหนัก ออกกำลังกาย ควบคุมความเครียด และตรวจคัดกรองสุขภาพ ตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขในประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ควรได้รับการค้นหาภาวะเสี่ยงทุกปี เมื่อมาวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงชุมชนวัดภูผาภิมุข ตั้งแต่ปี 2557 - 2559 พบว่ามีแนวโน้มที่สูงขึ้นทุกปี โดยในปี 2557 มีจำนวน 106 คน คิดเป็น ร้อยละ 37.5 ปี 2558 มีจำนวน 116 คน คิดเป็น ร้อยละ 38.82 และ ปี 2559 มีจำนวน 122 คน คิดเป็นร้อยละ 42.21 ตามลำดับ เมื่อนำมาเปรียบเทียบส่วนมากเป็นคนเดิมและบางคนได้กลายเป็นผู้ป่วยไปแล้วทั้งได้รับคำแนะนำเบื้องต้น และได้รับการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทุกปี แต่ได้รับการอบรม ปีละ 10คน เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการอบรม ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิดและมีคุณภาพ อสม./แกนนำชุมชน จึงได้จัดทำโครงการติดตามดูแลสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เพื่อดูแลสุขภาพประชาชนในเขตรับผิดชอบให้มีคุณภาพชีวิตดีขึ้นไม่ป่วยเป็นโรคและกลับมาเป็นกลุ่มปกติ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม 2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลและมีพฤติกรรมดีขึ้นกลายเป็นกลุ่มปกติ
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลและมีพฤติกรรมดีขึ้นกลายเป็นกลุ่มปกติ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองลดโอกาสการเป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง 2. กลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลที่ถูกต้องเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ขั้นเตรียมการ |
||
วันที่ 13 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.รวบรวมกลุ่มเสี่ยง 2.ประชุมชี้แจง อสม.ที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงานและฟื้นฟูความรู้เรื่องการติดตามดูแลสุขภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอสม. ที่เกี่ยวข้องกับโครงการได้รับทราบ แนวทางกำหนดการดำเนินกิจกรรม เพื่อวางแผนการดำเนินงานและและฟื้นฟูความรู้เรื่องการติดตามดูแลสุขภาพ
|
10 | 10 |
2. ขั้นดำเนินการ |
||
วันที่ 13 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
|
30 | 30 |
3. ติตามและสรุปผล |
||
วันที่ 13 มิถุนายน 2560 เวลา 16:00 น.กิจกรรมที่ทำเวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงาน จัดทำรูปเล่มสรุปผลการดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้รับผิดชอบโครงการได้ทราบผลสรุปของการดำเนินงานโครงการและรวบรวมเล่มรายงาน
|
10 | 10 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้น 80.95% 2.กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ เมื่อติดตามดูแล กลาเป็นกลุ่มปกติ จำนวน 11 ราย คิดเป็น 64.70% 3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม
2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลและมีพฤติกรรมดีขึ้นกลายเป็นกลุ่มปกติ ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองสมัครใจเข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 2. กลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการดูแลกลายเป็นกลุ่มปกติร้อยละ 50 |
|
|||
2 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลและมีพฤติกรรมดีขึ้นกลายเป็นกลุ่มปกติ ตัวชี้วัด : เสี่ยงที่ได้รับการดูแลกลายเป็นกลุ่มปกติร้อยละ 50 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม 2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลและมีพฤติกรรมดีขึ้นกลายเป็นกลุ่มปกติ (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลและมีพฤติกรรมดีขึ้นกลายเป็นกลุ่มปกติ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการติตามดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ชุมชนวัดภูผาภิมุข จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 020182560
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางชุติญา ทองนุ่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......