กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตรวจเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยจากมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปีงบประมาณ 2563
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลละหาร
วันที่อนุมัติ 18 ธันวาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
กำหนดวันส่งรายงาน 28 กันยายน 2563
งบประมาณ 24,725.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางวงศ์ศิริ โมฬี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลละหาร อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.396,101.745place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 28 ส.ค. 2563 28 ส.ค. 2563 24,725.00
รวมงบประมาณ 24,725.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่พบเป็นอันดับหนึ่งในสตรีไทย พบมีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณปีละ 8,200 ราย พบมากที่สุดระหว่างอายุ 45-50 ปี ระยะที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระยะลุกลาม อัตราการอยู่รอด 5 ปี ประมาณร้อยละ 60 จึงมีผู้ป่วยสะสมจำนวนมาก คาดประมาณว่าจะมีผู้ป่วยพบรายใหม่และผู้ป่วยเก่าที่ต้องติดตามทำการดูแลรักษาอยู่ไม่น้อยกว่า 6,000 คนทั่วประเทศการทำการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยการทำ Pap Smearได้มีผลการศึกษาวิจัยทั่วโลกว่าสามารถลดอุบัติการณ์ และอัตราตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้มากกว่าร้อยละ 80 ถ้าทำได้อย่างมีคุณภาพและมีความครอบคลุมกลุ่มประชากรเป้าหมายทั้งหมดได้สูง จากผลการศึกษาในหลายประเทศแสดงให้เห็นว่าการตรวจคัดกรองด้วยการทำ Pap Smear ให้ครอบคลุมกลุ่มสตรีเป้าหมายทั้งหมด มีความสำคัญต่อการลดอัตราการเกิดและอัตราตายจากโรค มะเร็งปากมดลูกมากกว่าความถี่ที่ได้รับการตรวจแต่ไม่ครอบคลุมประชากรทั้งหมด จึงได้มีการดำเนินโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกขึ้น โดยครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย สตรีอายุ 30-60 ปี

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการตรวจเฝ้าระวังโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก 2.สตรีอายุ 30 ปี ขึ้นไปที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อตามแนวทางที่กำหนด
  1. ร้อยละ 20 ของสตรีอายุ 30 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจเฝ้าระวังโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก         2. ร้อยละ 100 ของสตรีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อตามแนวทางที่กำหนด
100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 200 24,724.00 0 0.00
28 ส.ค. 63 1. สร้างเครือข่ายการดำเนินงาน 2. จัดอบรม เทคนิคการตรวจเฝ้าระวังมะเร็งเต้านมในสตรีและการเตรียมรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก 3. กำหนดกลุ่มเป้าหมายและกำหนดแผนการปฏิบัติงาน 4. ส่งต่อผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติตามแนวทางที่กำหนด 200 24,724.00 -
  1. สร้างเครือข่ายการดำเนินงาน     2. จัดอบรม เทคนิคการตรวจเฝ้าระวังมะเร็งเต้านมในสตรีและการเตรียมรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก     3. กำหนดกลุ่มเป้าหมายและกำหนดแผนการปฏิบัติงาน     4. ส่งต่อผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติตามแนวทางที่กำหนด
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ร้อยละ 20 ของสตรีอายุ 30 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจเฝ้าระวังโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก     2. ร้อยละ 100 ของสตรีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อตามแนวทางที่กำหนด
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ส.ค. 2563 11:26 น.