กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล


“ โครงการ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านร่วมใจ ใส่ใจเรื่องสุขภาพช่องปาก ตำบลลำไพล ”

ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวซัลมา การดี

ชื่อโครงการ โครงการ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านร่วมใจ ใส่ใจเรื่องสุขภาพช่องปาก ตำบลลำไพล

ที่อยู่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5192-1-8 เลขที่ข้อตกลง 63/L5192/1/8

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านร่วมใจ ใส่ใจเรื่องสุขภาพช่องปาก ตำบลลำไพล จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านร่วมใจ ใส่ใจเรื่องสุขภาพช่องปาก ตำบลลำไพล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านร่วมใจ ใส่ใจเรื่องสุขภาพช่องปาก ตำบลลำไพล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5192-1-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การตรวจสุขภาพช่องปากนั้นถือว่าเป็นงานที่สำคัญยิ่งในการนำมาวางแผนในการจัดการควบคุมป้องกันและดำเนินการรักษาเพื่อบรรเทาอาการในช่องปากหรือทำให้ปราศจากโรคในช่องปาก อีกทั้งจำนวนประชากรที่มากกว่า 7,๐๐๐ เฉพาะในเขตตำบลลำไพล กับการดูแลของทันตบุคลากรเพียง 2 คน ทำให้ไม่สามารถที่จะดูแลหรือรับทราบถึงปัญหาทางด้านทันตสุขภาพได้อย่างทั่วถึงซึ่งเป็นประตูด่านแรกด้านสุขภาพเกี่ยวกับปัญหาการเกิดโรคต่าง ๆ ตามมา จึงได้จัดทำโครงการ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านร่วมใจ ใส่ใจเรื่องสุขภาพช่องปาก ตำบลลำไพลขึ้นมา เพื่อพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ที่ผ่านการอบรมจากทันตบุคลากร ให้สามารถตรวจสุขภาพช่องปากและสามารถประเมินปัญหาสุขภาพช่องปากเบื้องต้น และเกิดการส่งต่อในกรณีที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากของประชาชนตามกลุ่มที่กำหนดให้ คือ 1.กลุ่มผู้สูงอายุ 2.กลุ่มผู้พิการ 3.กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 4.กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ และ 5.กลุ่มเด็กแรกคลอด -5 ปี เพื่อให้ประชานได้เข้าถึงการรับบริการทางทันตกรรมที่เหมาะสมต่อไป ตลอดจนได้รับการคัดกรองรอยโรคมะเร็งในช่องปากโดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ ได้อย่างถูกต้อง และนำข้อมูลส่งกับทันตบุคลากร เพื่อที่ทันตบุคลากรจะนำข้อมูลที่ได้มาปรับแผนในการออกให้บริการ
      เพื่อให้การดำเนินการส่งเสริมทันตสุขภาพสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในชุมชนทั้ง ทันตบุคลากร ผู้ปกครอง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตลอดถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ร่วมกันในการดำเนินงานส่งเสริมทันตสุขภาพในชุมชน จึงร่วมกับเทศบาลตำบลลำไพลและหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ โดยมี กลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลเทพา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าไทร และคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนศูนย์ 3 จัดทำโครงการนี้ขึ้นโดยเน้นการเข้าถึงชุมชน เพื่อการสร้างเสริมพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กและของตนเองได้อย่างยั่งยืน ป้องกันไม่ให้โรคในช่องปากลุกลามและทวีความรุนแรงมากขึ้นกว่าเดิม ทันตบุคลากรสามารถวางแผนป้องกันและรักษาแก่ผู้ที่มีปัญหาด้านทันตสุขภาพในลำดับต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่ผ่านการอบรมจากทันตบุคลากร ให้สามารถตรวจสุขภาพช่องปากและสามารถประเมินปัญหาสุขภาพช่องปากเบื้องต้น และเกิดการส่งต่อในกรณีที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากของประชาชน
  2. ประชาชนเข้าถึงการตรวจและประเมินปัญหาสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้นและสภาวะสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดเวทีคืนข้อมูล
  2. จัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
  3. ฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้องเหมาะสมให้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โดยประเมินจากการย้อมแผ่นคราบจุลินทรีย์
  4. ตรวจสุขภาพช่องปากให้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และทำการส่งต่อเพื่อได้รับการรักษาที่เหมาะสม โดยทันตบุคลากร
  5. จัดให้บริการส่งเสริม ป้องกัน และการส่งต่อที่เหมาะสมแก่ประชาชน โดยทันตบุคลากร
  6. คัดกรองรอยโรคมะเร็งในช่องปากเชิงรุกด้วยการเยี่ยมบ้านในกลุ่มผู้สูงอายุโดย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
  7. จัดรณรงค์ด้านทันตสุขภาพในโอกาสต่าง
  8. ประกวด อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เชี่ยวชาญด้านทันตสุขภาพระดับอำเภอเทพา
  9. ติดตามและประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่ผ่านการอบรมจากทันตบุคลากร ให้สามารถตรวจสุขภาพช่องปากและสามารถประเมินปัญหาสุขภาพช่องปากเบื้องต้น และเกิดการส่งต่อในกรณีที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากของประชาชน
ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้เรื่องสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้นหลังผ่านการอบรม
80.00

 

2 ประชาชนเข้าถึงการตรวจและประเมินปัญหาสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้นและสภาวะสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ประชาชนครัวเรือนที่รับผิดชอบโดยของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านได้รับการตรวจและประเมินปัญหาสุขภาพช่องปากเบื้องต้น และส่งต่อในกรณีที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่ผ่านการอบรมจากทันตบุคลากร ให้สามารถตรวจสุขภาพช่องปากและสามารถประเมินปัญหาสุขภาพช่องปากเบื้องต้น และเกิดการส่งต่อในกรณีที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากของประชาชน (2) ประชาชนเข้าถึงการตรวจและประเมินปัญหาสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้นและสภาวะสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดเวทีคืนข้อมูล (2) จัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (3) ฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้องเหมาะสมให้แก่  อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โดยประเมินจากการย้อมแผ่นคราบจุลินทรีย์ (4) ตรวจสุขภาพช่องปากให้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และทำการส่งต่อเพื่อได้รับการรักษาที่เหมาะสม โดยทันตบุคลากร (5) จัดให้บริการส่งเสริม ป้องกัน และการส่งต่อที่เหมาะสมแก่ประชาชน โดยทันตบุคลากร (6) คัดกรองรอยโรคมะเร็งในช่องปากเชิงรุกด้วยการเยี่ยมบ้านในกลุ่มผู้สูงอายุโดย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (7) จัดรณรงค์ด้านทันตสุขภาพในโอกาสต่าง (8) ประกวด อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เชี่ยวชาญด้านทันตสุขภาพระดับอำเภอเทพา (9) ติดตามและประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านร่วมใจ ใส่ใจเรื่องสุขภาพช่องปาก ตำบลลำไพล จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5192-1-8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซัลมา การดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด