กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้โรงเรียนในเครือข่ายมีกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน และมีการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้เอื้อต่อการมีทันตสุขภาพที่ดี
ตัวชี้วัด : โรงเรียนในเครือข่ายจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ครอบคลุมทุกชั้นเรียน และปลอดน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ ลูกอม ไอศกรีม และเครื่องดื่มรสหวาน (น้ำตาลไม่เกิน 5%)
100.00 100.00

 

 

 

2 เพื่อให้ผู้บริหาร และผู้ปกครอง ได้ทราบข้อมูลสภาวะสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียน และผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการควบคุมดูแลพฤติกรรมทันตสุขภาพของเด็ก
ตัวชี้วัด : โรงเรียนในเครือข่ายมีระบบการคืนข้อมูลสภาวะสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียนแก่ผู้บริหารและผู้ปกครอง และผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการควบคุมดูแลและบันทึกการแปรงฟันก่อนนอนของเด็กตามแบบบันทึก
95.00 95.00

 

 

 

3 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานระหว่างโรงเรียนในเครือข่ายและนอกเครือข่าย
ตัวชี้วัด : มีการสร้างเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อการติดต่อประสานงาน การติดตามข่าวสารประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่การดำเนินงานแก่บุคคลทั้งภายในและภายนอกเครือข่าย มีการจัดรณรงค์และประกวดผลงานวิชาการด้านทันตสุขภาพในเครือข่าย อย่างน้อย 1 ครั้ง
0.00 0.00

 

 

 

4 เพื่อให้นักเรียนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนชั้น ป.1-ป.6 มีความรู้เพิ่มขึ้น
80.00 80.00

 

 

 

5 เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับบริการส่งเสริม ป้องกัน และรักษาทางทันตกรรมที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนชั้น ป.1-ป.6 ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ได้รับทันตสุขศึกษา และฝึกทักษะการแปรงฟัน เด็กนักเรียนชั้น ป.1-ป.6 ที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ได้รับการรักษาทางทันตกรรม
75.00 75.00

 

 

 

6 เพื่อให้เด็กนักเรียนมีพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : นักเรียนชั้น ป.1-ป.6 แปรงฟันก่อนนอนทุกคืน นักเรียนชั้น ป.1-ป.6 แปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน นักเรียนชั้น ป.1 –6 รับประทานอาหารว่างไม่เกิน 2 ครั้งต่อวัน (ไม่นับรวมนมโรงเรียน)
50.00 50.00

 

 

 

7 เพื่อนักเรียนมีสภาวะสุขภาพ ช่องปากที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 60 ของเด็กนักเรียนชั้น ป.1-ป.6 ปราศจากโรคฟันแท้ผุ 2. ร้อยละ 75 ของนักเรียนชั้น ป.1-ป.6 ฟันดีไม่มีผุ (cavity free) 3. ร้อยละ 80 ของนักเรียนชั้น ป.1-ป.6 ไม่มีสภาวะเหงือกอักเสบ 4. ร้อยละ 45 ของเด็กนักเรียนชั้น ป.6 ปราศจากโรคฟันแท้ผุ 5. ร้อยละ 75 ของนักเรียนชั้น ป.6 ฟันดีไม่มีผุ (cavity free) 6. ร้อยละ 80 ของนักเรียนชั้น ป.6 ไม่มีสภาวะเหงือกอักเสบ
0.00 0.00