กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ครูและนักเรียนโรงเรียน ศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาลำไพล จำนวน 8 โรงเรียนประกอบด้วย โรงเรียนบ้านลำไพล โรงเรียนบ้านแม่ที โรงเรียนบ้านลำเปา โรงเรียนลำไพลราษฎร์อุทิศ โรงเรียนบ้านควนเจดีย์ โรงเรียนวัดปริก โรงเรียนบ้านท่าไทร และโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ มีวัสดุและอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมตามโครงการเด็กไทยฟันดี ศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาลำไพล ประกอบด้วย ชั้นวางแก้วน้ำแปรงฟัน ครบทุกห้องทุกชั้นเรียนโรงเรียนในเครือข่าย มีเอกสารบันทึกการแปรงฟันของนักเรียนทุกคน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้โรงเรียนในเครือข่ายมีกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน และมีการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้เอื้อต่อการมีทันตสุขภาพที่ดี
ตัวชี้วัด : โรงเรียนในเครือข่ายจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ครอบคลุมทุกชั้นเรียน และปลอดน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ ลูกอม ไอศกรีม และเครื่องดื่มรสหวาน (น้ำตาลไม่เกิน 5%)
100.00 100.00

 

2 เพื่อให้ผู้บริหาร และผู้ปกครอง ได้ทราบข้อมูลสภาวะสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียน และผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการควบคุมดูแลพฤติกรรมทันตสุขภาพของเด็ก
ตัวชี้วัด : โรงเรียนในเครือข่ายมีระบบการคืนข้อมูลสภาวะสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียนแก่ผู้บริหารและผู้ปกครอง และผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการควบคุมดูแลและบันทึกการแปรงฟันก่อนนอนของเด็กตามแบบบันทึก
95.00 95.00

 

3 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานระหว่างโรงเรียนในเครือข่ายและนอกเครือข่าย
ตัวชี้วัด : มีการสร้างเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อการติดต่อประสานงาน การติดตามข่าวสารประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่การดำเนินงานแก่บุคคลทั้งภายในและภายนอกเครือข่าย มีการจัดรณรงค์และประกวดผลงานวิชาการด้านทันตสุขภาพในเครือข่าย อย่างน้อย 1 ครั้ง
0.00 0.00

 

4 เพื่อให้นักเรียนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนชั้น ป.1-ป.6 มีความรู้เพิ่มขึ้น
80.00 80.00

 

5 เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับบริการส่งเสริม ป้องกัน และรักษาทางทันตกรรมที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนชั้น ป.1-ป.6 ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ได้รับทันตสุขศึกษา และฝึกทักษะการแปรงฟัน เด็กนักเรียนชั้น ป.1-ป.6 ที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ได้รับการรักษาทางทันตกรรม
75.00 75.00

 

6 เพื่อให้เด็กนักเรียนมีพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : นักเรียนชั้น ป.1-ป.6 แปรงฟันก่อนนอนทุกคืน นักเรียนชั้น ป.1-ป.6 แปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน นักเรียนชั้น ป.1 –6 รับประทานอาหารว่างไม่เกิน 2 ครั้งต่อวัน (ไม่นับรวมนมโรงเรียน)
50.00 50.00

 

7 เพื่อนักเรียนมีสภาวะสุขภาพ ช่องปากที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 60 ของเด็กนักเรียนชั้น ป.1-ป.6 ปราศจากโรคฟันแท้ผุ 2. ร้อยละ 75 ของนักเรียนชั้น ป.1-ป.6 ฟันดีไม่มีผุ (cavity free) 3. ร้อยละ 80 ของนักเรียนชั้น ป.1-ป.6 ไม่มีสภาวะเหงือกอักเสบ 4. ร้อยละ 45 ของเด็กนักเรียนชั้น ป.6 ปราศจากโรคฟันแท้ผุ 5. ร้อยละ 75 ของนักเรียนชั้น ป.6 ฟันดีไม่มีผุ (cavity free) 6. ร้อยละ 80 ของนักเรียนชั้น ป.6 ไม่มีสภาวะเหงือกอักเสบ
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 1507
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0 1,507
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้โรงเรียนในเครือข่ายมีกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน และมีการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้เอื้อต่อการมีทันตสุขภาพที่ดี (2) เพื่อให้ผู้บริหาร และผู้ปกครอง ได้ทราบข้อมูลสภาวะสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียน และผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการควบคุมดูแลพฤติกรรมทันตสุขภาพของเด็ก (3) มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานระหว่างโรงเรียนในเครือข่ายและนอกเครือข่าย (4) เพื่อให้นักเรียนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพช่องปาก (5) เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับบริการส่งเสริม ป้องกัน และรักษาทางทันตกรรมที่เหมาะสม (6) เพื่อให้เด็กนักเรียนมีพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพที่เหมาะสม (7) เพื่อนักเรียนมีสภาวะสุขภาพ ช่องปากที่ดีขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประกาศนโยบายส่งเสริมทันตสุขภาพเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดีตำบลลำไพล (2) กิจกรรมบูรณาการหลักสูตรการเรียนรู้ด้านทันตสุขภาพครอบคลุมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และทุกชั้นเรียน (3) จัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการดูลแลสุขภาพช่องปาก (4) ตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียนโดยทันตบุคลากร (5) อบรมให้ความรู้ครูและนักเรียนเรื่องสุขภาพช่องปาก (6) กิจกรรมแปรงฟันตอนเช้าและก่อนนอนบันทึกโดยผู้ปกครอง (7) จัดประชุมเพื่อวางแผนและติดตามการดำเนินงาน (8) สร้างเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อการติดต่อประสานงาน และการติดตามข่าวสารประชาสัมพันธ์ (9) สำรวจและเก็บข้อมูลทันตสุขภาพของเด็กนักเรียน (10) สรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh