กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บองอ


“ โครงการสุขภาวะมุสลิมสู่ชุมชน ”

ตำบลบองอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอดุลย์ อาแวกือจิ

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาวะมุสลิมสู่ชุมชน

ที่อยู่ ตำบลบองอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2506-1-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 พฤศจิกายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาวะมุสลิมสู่ชุมชน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบองอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บองอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาวะมุสลิมสู่ชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาวะมุสลิมสู่ชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบองอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2506-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2560 - 30 พฤศจิกายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 150,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บองอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตลอดปีที่ผ่านมาสังคมสามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีประสบปัญหาทางด้านสุขภาพ โดยสาเหตุหลักๆดังนี้
1.เกิดการเผยแพร่ในหลักการทางศาสนาที่ไม่ตรงกับประเด์นปัญหาในพื้นที่ ประกอบกับชุมชนเองขาดภูมิคุ้มกัน มีการศึกษาน้อย ทำให้เกิดความเข้าใจ และนำไปปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องและคลาดเคลื่อน 2.เกิดจากมุมมองของผู้นำศาสนา หรือผู้เผยแพร่มีทัศนที่ไม่ตรงตามแนวทางและนโยบายของรัฐ เกิดจากความรู้สึกนึกคิดของตนเองมาสรุปประเด็นปัญหา และทำให้ชุมชนเกิดความเข้าใจที่ไม่ตรงตามหลักการและแนวทางการแก้ปัญหา 3.เกิดจากพฤติกรรมของชุมชนที่เชื่อถือบุคคลมากกว่าความรู้จากด้านวิทยาการ ความเข้าใจที่เป็นปัจจุบัน ทำให้เกิดพฤติกรรมตกทอดมาเป็นความเชื่อส่วนบุคคล 4.เกิดจากประชาชน ขาดความตระหนักในเรื่องสุขภาพ ขาดทักษะในการเปลี่ยนแปลงฟฤติกรรมสุขภาพตลอดจนขาดการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของชุมชน ทั้งหมดนี้เป็นสาเหตุสำคัญที่เกิดขึ้นในพื้นที่ สามารถตอบสนองกับปัญหาด้านสุขภาพและทันต่อสถานการณ์จริงที่มีความเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา 5 ตระหนักถึงความสำคัญของการถ่ายทอดสุขภาวะสุขภาพวิถีมุสลิมผ่านช่องทางการนำความรู้สู่ชุมชนในเขตพื้นที่ภายใต้แนวคิดหลักที่เน้นการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในพื้นที่ควบคู่การพัฒนาคุณภาพผลงานและส่งผ่านผลสำเร็จด้วยกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ขยายผลสู่ผู้เกี่ยวข้อง ผู้รับผิดชอบด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในพื้นที่สาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา 5 จึงได้จัดทำโครงการสุขภาวะมุสลิมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา 5 สู่ชุมชน เพื่อการดำเนินงานต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ชุมชนและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ เกิดความตระหนักในการดูแลด้านโภขนาการ พัฒนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การดูแลฟัน และการเสริมสร้าง IQ
  2. เพิื่อให้ชุมชนและแกนนำสุขภาพมีการเฝ้าระวังและส่งเสริมภาวะโภชนาการ พัฒนาการและเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพในเด็ก 0 - 72 เดือนการ
  3. เพื่อให้ชุมชนและแกนนำสุขภาพผลัดดันให้หญิงตั้งครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
  4. เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ในการดูแลครรภ์ ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย
  5. เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นอายุตำ่กว่า 20 ปี และการตั้งครรภ์ไม่พึ่งประสงค์
  6. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง ความดัน เบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  7. เพื่อให้กลุ่มเป้หมายมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปีงบประมาณ 2560 ได้รับการคัดกรอง
  8. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อในพื้นที่
  9. เพื่อเฝ้าระวัง และตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร และร้านขายของชำในเขตพื้นที่เป้าหมาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 1,158
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    • ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการเข้าร่วมอบรม และร่วมกิจกรรม
    • อัตราการฝากก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ มากว่าร้อยละ 75
    • หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ มากกว่าร้อยละ 70
    • หญิงตั้งครรภ์คลอดในสถานบริการของรัฐ ร้อยละ 90
    • หญิงตั้งครรภ์ในวัยรุ่นอายุต่ำกว่า 20 ปี และการตั้งครรภ์ไม่พึ่งประสงค์ น้อยกว่าร้อยละ 20
    • กลุ่มเสี่ยงความดัน - เบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 40
    • กลุ่มเป้าหมายมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ได้รับการคัดกรอง ปีงบประมาณ 2560 ร้อยละ 20
    • ชุมชนมีการดำเนินการ และมีการเฝ้าระวังการใช้ยา และดูแลการโฆษณาผลิตภัณฑ์ที่ควบคุมเกินความจำเป็นจริง ร้อยละ 100

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ชุมชนและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ เกิดความตระหนักในการดูแลด้านโภขนาการ พัฒนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การดูแลฟัน และการเสริมสร้าง IQ
    ตัวชี้วัด : ชุมชนและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ เกิดความตระหนักในการดูแลด้านโภขนาการ พัฒนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การดูแลฟัน และการเสริมสร้าง IQ

     

    2 เพิื่อให้ชุมชนและแกนนำสุขภาพมีการเฝ้าระวังและส่งเสริมภาวะโภชนาการ พัฒนาการและเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพในเด็ก 0 - 72 เดือนการ
    ตัวชี้วัด : ชุมชนและแกนนำสุขภาพมีการเฝ้าระวังและส่งเสริมภาวะโภชนาการ พัฒนาการและเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพในเด็ก 0 - 72 เดือนการ

     

    3 เพื่อให้ชุมชนและแกนนำสุขภาพผลัดดันให้หญิงตั้งครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
    ตัวชี้วัด : ชุมชนและแกนนำสุขภาพผลัดดันให้หญิงตั้งครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์

     

    4 เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ในการดูแลครรภ์ ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : ชุมชนมีความรู้ในการดูแลครรภ์ ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย

     

    5 เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นอายุตำ่กว่า 20 ปี และการตั้งครรภ์ไม่พึ่งประสงค์
    ตัวชี้วัด : ลดอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นอายุตำ่กว่า 20 ปี และการตั้งครรภ์ไม่พึ่งประสงค์

     

    6 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง ความดัน เบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยง ความดัน เบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

     

    7 เพื่อให้กลุ่มเป้หมายมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปีงบประมาณ 2560 ได้รับการคัดกรอง
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้หมายมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปีงบประมาณ 2560 ได้รับการคัดกรอง

     

    8 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อในพื้นที่
    ตัวชี้วัด : ลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อในพื้นที่

     

    9 เพื่อเฝ้าระวัง และตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร และร้านขายของชำในเขตพื้นที่เป้าหมาย
    ตัวชี้วัด : เฝ้าระวัง และตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร และร้านขายของชำในเขตพื้นที่เป้าหมาย

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1158
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 1,158
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ชุมชนและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ เกิดความตระหนักในการดูแลด้านโภขนาการ พัฒนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การดูแลฟัน และการเสริมสร้าง IQ (2) เพิื่อให้ชุมชนและแกนนำสุขภาพมีการเฝ้าระวังและส่งเสริมภาวะโภชนาการ พัฒนาการและเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพในเด็ก 0 - 72 เดือนการ (3) เพื่อให้ชุมชนและแกนนำสุขภาพผลัดดันให้หญิงตั้งครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ (4) เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ในการดูแลครรภ์ ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย (5) เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นอายุตำ่กว่า 20 ปี และการตั้งครรภ์ไม่พึ่งประสงค์ (6) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง ความดัน เบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (7) เพื่อให้กลุ่มเป้หมายมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปีงบประมาณ 2560 ได้รับการคัดกรอง (8) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อในพื้นที่ (9) เพื่อเฝ้าระวัง และตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร และร้านขายของชำในเขตพื้นที่เป้าหมาย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสุขภาวะมุสลิมสู่ชุมชน จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2506-1-08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอดุลย์ อาแวกือจิ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด