กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ


“ โครงการหญิงไทยรู้ทันเฝ้าระวังมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ”

ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายสันต์ เดะแอ

ชื่อโครงการ โครงการหญิงไทยรู้ทันเฝ้าระวังมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L4127-1-5 เลขที่ข้อตกลง 0004/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 สิงหาคม 2563 ถึง 31 ธันวาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหญิงไทยรู้ทันเฝ้าระวังมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหญิงไทยรู้ทันเฝ้าระวังมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหญิงไทยรู้ทันเฝ้าระวังมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63-L4127-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 สิงหาคม 2563 - 31 ธันวาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งปากมดลูก (Cervical cancer) เป็นโรคมะเร็งที่พบได้บ่อยที่สุดของมะเร็งในผู้หญิงไทย มักพบในช่วงอายุ 30-70 ปี (พบได้สูงในช่วงอายุ 45-55 ปี) แต่ก็อาจพบได้ในคนที่มีอายุน้อย ๆ เช่น 20 ปี และในผู้สูงอายุตั้งแต่ 70 ปีขึ้นไปก็ได้ โดยผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีประวัติการมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย (น้อยกว่า 17 ปี) มีคู่นอนหรือมีสามีหลายคน หรือมีสามีที่มีความสำส่อนทางเพศ ซึ่งเชื่อว่าจะทำให้เกิดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี (HPV) ที่เป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญต่อการเกิดมะเร็งปากมดลูกได้ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด แต่พบว่าสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดมะเร็งปากมดลูก (หรือประมาณ 70% ของผู้ป่วยโรคนี้) มีสาเหตุมาจากการอักเสบเรื้อรังของปากมดลูกจากการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี (Human papilloma virus – HPV) ชนิด 16 และ 18 ซึ่งเป็นคนละสายพันธุ์กับชนิดที่ทำให้เกิดหูดและหงอนไก่ ที่ส่วนใหญ่มาจากเชื้อไวรัสเอชพีวีชนิด 6 และ 11 โดยเชื้อไวรัสชนิดนี้จะติดต่อจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ทำให้มีรอยถลอกของผิวหรือเยื่อบุในอวัยวะสืบพันธุ์ จึงทำให้เชื้อไวรัสสามารถเข้าไปอยู่ที่ปากมดลูก ทำให้ปากมดลูกเกิดการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อหรือเซลล์ของปากมดลูก จนกลายเป็นเซลล์หรือเนื้อเยื่ออักเสบเรื้อรัง (ระยะก่อนเป็นมะเร็งปากมดลูก) และเป็นมะเร็งในที่สุด (เชื้อชนิดนี้ยังเป็นปัจจัยของการเกิดมะเร็งช่องปากและองคชาตได้ด้วย) โดยระยะเวลาตั้งแต่เริ่มมีการติดเชื้อไวรัสจนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นมะเร็งนั้นจะใช้เวลาประมาณ 10-15 ปี (อาจจะเร็วหรือช้ากว่านี้ก็ได้) ดังนั้นเพื่อให้ประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเกลือ ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญในเรื่องนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเกลือจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

จากการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะตรวจปีพ.ศ. 2559– 2561 จำนวน 1,368 ราย พบความผิดปกติที่ส่งพบแพทย์จำนวน 2 ราย สำหรับมะเร็งเต้านมพบความผิดปกติที่ไม่ใช่มะเร็งจำนวน 2 รายและมีผู้เสียชีวิตจากการเป็นมะเร็งเต้านมจำนวน ๒ ราย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะเห็นความสำคัญในการป้องกันมากกว่าการรักษาโรค โดยเฉพาะการตรวจคัดกรองค้นหาโรคระยะแรกในสตรีกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่สามารถลดอัตราอุบัติการณ์มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมขึ้นโดยเน้นการให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคมะเร็งเต้านมและตรวจคัดกรองหาCellมะเร็งปากมดลูกขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกเป็นอย่างดี
  2. เพื่อเพิ่มทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตัวเอง
  3. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้และประชาสัมพันธ์โครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 105
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 105
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพตัวเอง
  2. สตรีกลุ่มเป้าหมายเห็นความสำคัญในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
  3. สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการตรวจเต้านมด้วยตัวเอง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกเป็นอย่างดี
ตัวชี้วัด : ทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรม.
75.00

 

2 เพื่อเพิ่มทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตัวเอง
ตัวชี้วัด : สาธิตท่าวิธีการตรวจเต้านมด้วยตัวเอง
80.00

 

3 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรอง
ตัวชี้วัด : ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมโดยเจ้าหน้าที่
85.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 210
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 105
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 105
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกเป็นอย่างดี (2) เพื่อเพิ่มทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตัวเอง (3) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้และประชาสัมพันธ์โครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหญิงไทยรู้ทันเฝ้าระวังมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L4127-1-5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสันต์ เดะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด