กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในชุมชน ”

ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุดารัตน์ อินทร์ทอง

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5295-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 พฤศจิกายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในชุมชน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (2) เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงให้มีค่าความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่-มีการอบรมให้ความรู้เรื่องโปรแกรมอาหาร อารมณ์ และการออกกำลังกาย จำนวน 60 คน คิดเป็น 100 % -กิจกรรมสาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพและรณรงค์ปลูกผัก ณ ศาลาเอนกประสงค์ หมู่ที 2 บ้านคลองห้วยบ่า จำนวน 60 คน คิดเป็น 100% -กิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ณ ลานออกกำลังกายหมู่ที่ 2 จำนวน 60 คน
-จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ 3 อ 2 ส 1 แห่ง ณ ศาลาเอนกประสงค์หมู่ที่ 2
-คัดเลือกครัวเรือนต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อมีสุขภาพดีประจำปี2560 2.ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีร้อยละ 9.21 ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 25.52 อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง0.19 อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.19 อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลงร้อยละ 6.62

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) .ประชาชนไม่ตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง แนวทางการแก้ไข คือ จัดทีมชักชวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมกัน เน้นกลุ่มน้อยๆแล้วขยายผลไปวงกว้าง..

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในพื้นที่หมู่ที่1,2,4,5 ตำบลป่าแก่บ่อหิน ในปีงบประมาณ2559 พบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 209 ราย มีภาวะแทรกซ้อน 14 ราย พบผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 65 ราย มีภาวะแทรกซ้อนจำนวน 8 ราย จากการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงอายุ35ปีขึ้นไปดดย อสม. พบว่า ประชาชนเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง 202 คน คิดเป็นร้อยละ 33.16 ของกลุ่มเป้าหมายที่คัดกรอง พบเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน 98 ราย คิดเป็นร้อยละ 13.33 ของกลุ่มเป้าหมายที่คัดกรอง ส่วนใหญ่กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยยังมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องเหมาะสมขาดการออกกำลังกาย และบางกลุ่มมีการสูบบุหรี่และดื่มสุรา ทำให้เกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้ง่าย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงให้มีค่าความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.กลุ่มผูั้ป่วยสามารถคควบคุมความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหรือโรคแทรกซ้อน 2.กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ ค่าความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.ผลการดำเนินงานในชุมชน -มีการอบรมให้ความรู้เรื่องโปรแกรมอาหาร อารมณ์ และการออกกำลังกาย จำนวน 60 คน คิดเป็น 100 % -กิจกรรมสาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพและรณรงค์ปลูกผัก ณ ศาลาเอนกประสงค์ หมู่ที 2 บ้านคลองห้วยบ่า จำนวน 60 คน คิดเป็น 100% -กิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ณ ลานออกกำลังกายหมู่ที่ 2 จำนวน 60 คน
    -จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ 3 อ 2 ส 1 แห่ง ณ ศาลาเอนกประสงค์หมู่ที่ 2
    -คัดเลือกครัวเรือนต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อมีสุขภาพดีประจำปี2560 2.ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีร้อยละ 9.21 ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 25.52 อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง0.19 อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.19 อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลงร้อยละ 6.62

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง ร้อยละ 80
    100.00

    อบรมให้ความรู้เรื่องโปรแกรมอาหาร อารมณ์และออกกำลังกาย

    2 เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงให้มีค่าความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ
    ตัวชี้วัด : 1.อัตราการเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานลดลงร้อยละ 5 2.ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีขึ้นมากกว่าร้อยละ 40 3. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีขึ้นมากกว่าร้อยละ 50
    100.00

    อัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง 0.19 ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีร้อยละ 9.21 (เกณฑ์มากกว่า40) อัตราการควบคุมความดันได้ดีร้อยละ25.52 (เกณฑ์มากกว่าร้อยละ50)

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 60
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (2) เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงให้มีค่าความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่-มีการอบรมให้ความรู้เรื่องโปรแกรมอาหาร อารมณ์ และการออกกำลังกาย จำนวน 60 คน คิดเป็น 100 % -กิจกรรมสาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพและรณรงค์ปลูกผัก ณ ศาลาเอนกประสงค์ หมู่ที 2 บ้านคลองห้วยบ่า จำนวน 60 คน คิดเป็น 100% -กิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ณ ลานออกกำลังกายหมู่ที่ 2 จำนวน 60 คน
    -จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ 3 อ 2 ส 1 แห่ง ณ ศาลาเอนกประสงค์หมู่ที่ 2
    -คัดเลือกครัวเรือนต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อมีสุขภาพดีประจำปี2560 2.ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีร้อยละ 9.21 ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 25.52 อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง0.19 อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.19 อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลงร้อยละ 6.62

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) .ประชาชนไม่ตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง แนวทางการแก้ไข คือ จัดทีมชักชวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมกัน เน้นกลุ่มน้อยๆแล้วขยายผลไปวงกว้าง..

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในชุมชน จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5295-2-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวสุดารัตน์ อินทร์ทอง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด