กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการศาสนาสร้างเสริมสุขภาพ
รหัสโครงการ 60-L2988-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ยูนุ๊ยูโซะ
วันที่อนุมัติ 17 พฤษภาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 7 มิถุนายน 2560 - 28 มิถุนายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน 28 มิถุนายน 2560
งบประมาณ 119,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ยูนุ๊ยูโซะ
พี่เลี้ยงโครงการ นายมูฮำหมัดนาเซร์ดอเลาะ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปากู อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.624,101.474place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 7 มิ.ย. 2560 28 มิ.ย. 2560 119,200.00
รวมงบประมาณ 119,200.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 160 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

ระบุ

กลุ่มวัยทำงาน 540 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลปากู นับวันจะเพิ่มจำนวนปัญหามากขึ้นและทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นปัญหาที่สามารถป้องกันได้ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม แต่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต้องอาศัยความร่วมมือของภาคประชาขนเป็นอย่างมากและต้องอาศัยการปรับเปลี่ยนทัศนคติของประชาชนให้ตระหนักในปัญหาสุขภาพตนเอง ในพระมหาคัมภีร์อัล-กรุอาน ของศาสนาอิสลาม ได้บัญญัติในเรื่องของวิถีชีวิตประจำวัน การปฏิบัติตัวของชาวมุสลิมไว้อย่างครบถ้วน รวมทั้งการปฏิบัติตัวให้ถูกสุขภาวะทางอนามัย อื่นๆ อีกมากมาย เพื่อให้ครอบครัว ชุมชน สังคม อยู่อย่างปกติสุข และปลอดโรค เช่นหลักการของการรักษาความสะอาด หลักการของการไม่ผิดประเวณี และหลักการของการบริโภคอาหาร เป็นต้น หลักการเหล่านี้เป็นหลักการที่สอดคล้องกับหลักวิทยาศาสตร์สุขภาพ ซึ่งบทบัญญัติในพระมหาคัมภีร์อัล-กรุอาน เป็นบทบัญญัติที่ผู้นับถือศาสนาอิสลามต้องปฏิบัติ ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ตำบลปากู ซึ่งส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลามให้มีสุขภาพดีและปฏิบัติตามหลักบทบัญญัติของศาสนาอิสลาม คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปากู และกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปากู ตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการศาสนาสร้างสุขภาพ ประจำปี 2560 ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 3.1 เพื่อสร้างความตระหนักในด้านสุขภาพโดยอ้างอิงหลักการศาสนาอิสลาม ที่สอดคล้องกับหลักการวิทยาศาสตร์สุขภาพ 3.2 เพื่อเป็นการลดโรคที่สามารถป้องกันได้ 3.3 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมและรับรู้ในกิจกรรมด้านสุขภาพด้วยตนเอง

1.ประชาชนได้ความรู้โดยหลักการอิสลาม 2.อัตราป่วยด้านโรคที่สามารถป้องกันได้ลดลง 3.ชุมชนมีส่วนร่วม

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 119,200.00 0 0.00
7 - 28 มิ.ย. 60 กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ 0 119,200.00 -

4.1 ปรึกษาหารือแนวทางในการจัดโครงการ
4.2 จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ
4.3 จัดการบรรยายธรรมตามหลักการศาสนาอิสลามที่สอดคล้องกับหลักวิทยาศาสตร์สุขภาพโดยอุสตาส บาบอ (ผู้เชี่ยวชาญด้านศาสนาอิสลาม) ในมัสยิดของชุมชนในภาคกลางคืน ก่อนเดือนถือศีลอดของชาวมุสลิม จำนวน 8 ชุมชนๆ ละ 1 ครั้ง
4.4 จัดการบรรยายธรรมตามหลักการศาสนาอิสลามที่สอดคล้องกับหลักวิทยาศาสตร์สุขภาพโดยอุสตาส บาบอ (ผู้เชี่ยวชาญด้านศาสนาอิสลาม)หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ผ่านระบบเสียงไร้สายของ อบต.ช่วงเวลา 09.00 น.ถึง 12.00 น.ของทุกวัน ยกเว้นวันศุกร์และวันหยุดราชการ ในเดือนรอมฎอน ตามปฏิทินอิสลาม ซึ่งอยู่ระหว่างวันที่ 7 - 28 มิถุนายน 2560
4.5 จัดทำป้ายการรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ให้ความรู้ ตามจุดต่างๆในพื้นที่ตำบลปากู 4.6 สรุปผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

9.1 ประชาชนได้ความรู้ด้านสุขภาพโดยหลักการศาสนา ที่สอดคล้องกับหลักการวิทยาศาสตร์ 9.2 อัตราป่วยด้านโรคที่สามารถป้องกันได้ลดลง 9.3 ชุมชนมีส่วนร่วมและรับรู้ในกิจกรรมด้านสุขภาพด้วยตนเอง 9.4 ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤตกรรม มีทักษะในการป้องกันโรคเพิ่มขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 มิ.ย. 2560 12:00 น.