กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสมุนไพรริมรั้วเพื่อการพึี่งตนเอง(ผักเป็นยา)
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ นางลักขณาหมัดอาดัม/อสม.ชุมชนบ้านคลองผ่าน
วันที่อนุมัติ 24 พฤษภาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2560 - 30 พฤศจิกายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 21,760.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางลักขณาหมัดอาดัม/อสม.ชุมชนบ้านคลองผ่าน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

พืชสมุนไพรเป็นสิ่งที่อยู่คู่คนไทยมานานซึ่งมีความหลากหลายและเป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปตามแต่ละสังคมวัฒนธรรมและรูปแบบการรักษามีทั้งการใช้ยาสมุนไพรการนวดการผดุงครรภ์ซึ่งตอบสนองความต้องการทางด้านการรักษาสุขภาพและความเจ็บป่วยของประชาชนได้เป็นอย่างดี ซึ่งคนส่วนใหญ่รวมทั้งประชาขนชุมชนคลองผ่านรู้กันว่าสมุนไพรไทยเป็นสิ่งที่มีคุณค่าใช้ประโยชน์ได้จริงแต่จากการพัฒนาในทุกด้านที่ยึดการพัฒนาตามระบบทุนนิยมทำให้ชุมชนมีค่านิยมตามแนวทางของตะวันตกเป็นหลักโดยเฉพาะด้านการจัดการสุขภาพที่เน้นการพึ่งพิงจากภายนอกเป็นส่วนใหญ่สิ่งเหล่านี้ส่งผลให้ภูมิปัญญาและองค์ความรู้การดูแลสุขภาพไม่ได้รับการพัฒนาทำให้ชุมชนได้รับประโยชน์จากพืชสมุนไพรน้อยทั้งๆที่สมุนเหล่านี้มีอยู่ในชุมชนบ้านคลองผ่านดังนั้นอสม.ชุมชนบ้านคลองผ่านเห็นความจำเป็นและตระหนักถึงการดูแลสุขภาพจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพที่ดีและมีความรู้ในการนำสมุนไพรไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเอง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้เรื่องสมุนไพรในท้องถิ่น และสามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง

ตัวชี้วัดความสำเร็จประชาชนมีความรู้เรื่องสมุนไพร ร้อยละ80

2 2.กลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วย สามารถนำสมุนไพรมารักษาโรคได้ด้วยตนเอง

กลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยควบคุมโรคได้ไม่เกิดภาวะแทรกร้อยร้อยละ60

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

วิธีดำเนินการ กิจกรรมที่1อบรมกลุ่มสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการทั้งกลุ่มผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงผู้สนใจจำนวน50ครัวเรือน ขั้นเตรียมการ 1.จัดประชุมชี้แจงโครงการประชาสัมพันธ์ 2.แบบฟอร์มใบสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ 3.เสนอโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ 4.เตรียมสถานที่ในการอบรม พร้อมทั้งเครื่องเสียงสื่อ เอกสาร วัสดุ อุบปกรณ์ในการ ฝึกในการอบรม 5.เตรียมเอกสาร อุบปกรณ์ในการประเมินภาวะสุขภาพของผู้เข้าร่วมโครงการ ขั้นดำเนินการ 1.กิจกรรมประชาสัมพันธ์ โครงการ
-ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเช่นรพ.สต.เทศบาล.อสม.รพช. เกษตรอำเภอ
- จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์โครงการ - รับสมัครครัวเรือนเข้า ร่วมโครงการ
- จัดทำทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ

  1. กิจกรรมการประเมินภาวะสุขภาพ -ดำเนินการประเมินสภาวะสุขภาพของผู้เข้าเข้าร่วมโครงการก่อน และหลัง ดำเนินโครงการ ซึ่งประเมินโดยการ
    ชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิตวัดรอบเอวเจาะระดับน้ำตาลในเลือด โดยเจ้าหน้าที่ รพสต.และ อสม. และมีการเปรียบเทียบผล การตรวจ ก่อน – หลังรายบุคคล

- บันทึกสรุปผลสุขภาพรายบุคคล กิจกรรมที่1อบรมกลุ่มสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน50ครัวเรือน ขั้นเตรียมการ 1.จัดประชุมชี้แจงโครงการประชาสัมพันธ์ 2.แบบฟอร์มใบสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ 3.เสนอโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ 4.เตรียมสถานที่ในการอบรม พร้อมทั้งเครื่องเสียงสื่อ เอกสาร วัสดุ อุบปกรณ์ในการ ฝึกในการอบรม 5.เตรียมเอกสาร อุบปกรณ์ในการประเมินภาวะสุขภาพของผู้เข้าร่วมโครงการ ขั้นดำเนินการ 1.กิจกรรมประชาสัมพันธ์ โครงการ
-ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเช่นรพ.สต.เทศบาล.อสม.รพช. เกษตรอำเภอ
- จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์โครงการ - รับสมัครครัวเรือนเข้า ร่วมโครงการ
- จัดทำทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ 2.กิจกรรมอบรมผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ จำนวน 2 วัน -จัดทำแบบทดสอบความรู้ก่อน/หลัง - ให้ความรู้เรื่องสมุนไพรที่สามาถนำมาใช้เพื่อดูแลสุขภาพให้กับผู้เข้าร่วมโครงการ -สมุนไพรไทยและการนำไปใช้กับโรคต่างๆ -การแปรรูปสมุนไพรเช่น สเปย์ไล่ยุงจากตะไคร้หอมสาธิตฝึกปฏิบัติ - ผู้ผ่านการอบรมจะได้รับประกาศนียบัตร
- ติดตามกลุ่มเป้าหมายเพื่อประเมินผลจากการใช้สมุนไพรดูแลสุขภาพและมีการจัดกิจกรรม ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทุก 2 เดือน เพื่อแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและแนวทางในการแก้ปัญหา 3.กิจกรรมประชาสัมพันธ์ในชุมชนเคาะประตูแนะนำการใช้สมุนไพรต่อเนื่อง

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนมีความรู้เรื่องสมุนไพร ร้อยละ80 กลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยควบคุมโรคได้ไม่เกิดภาวะแทรกร้อยร้อยละ60

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 มิ.ย. 2560 13:50 น.