กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน


“ โครงการไข้เลือดออกป้องกันได้ด้วยมือเรา ”

ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณี เอี้ยวสกุล

ชื่อโครงการ โครงการไข้เลือดออกป้องกันได้ด้วยมือเรา

ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5295-2-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 พฤศจิกายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการไข้เลือดออกป้องกันได้ด้วยมือเรา จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการไข้เลือดออกป้องกันได้ด้วยมือเรา



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่มีมุมเรียนรู้ในชุมชนและโรงเรียน ค่าHI

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกอำเภอทุ่งหว้า จำนวน 464 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 1,893.88 ต่อแสนประชากร และพบผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออกของตำบลป่าแก่บ่อหิน จำนวน 164 ราย คิดเป็นอัตราป่วย3,877.07ต่อแสน ซึ่งโรคไข้เลือดออกหากไม่มีการป้องกันและรักษาที่ทันท่วงที อาจเกิดการระบาดและอันตรายถึงชีวิตได้ จากข้อมูลดังกล่าวทางอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 4 ตำบลป่าแก่บ่อหิน ได้เห็นความสำคัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหาไข้เลือดออก โดยเน้นชุมชนมีส่วนร่วม หากมีการป้องกันโรคและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ถูกสุขลักษณะของประชาชนในพื้นที่ ทำให้เกิดโรคดังกล่าวน้อยลง และหากเกิดโรคสามารถส่งต่อรักษาได้ทันท่วงที

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก
  2. เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.พบผู้ป่วยไข้เลือดออกลดน้อยลงจากปีก่อนหรือไม่พบผู้ป่วยเลย 2.ประชาชนสามารถป้องกันโรคไข้เลือดออกได้ด้วยตนเอง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ประชาชนในชุมชน

    วันที่ 13 กันยายน 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการป้องกันโรคไข้เลือดออกแก่นักเรียนในการป้องกันโรคที่บ้านและที่โรงเรียน ประกวดโรงเรียนปลอดลูกน้ำยุงลาย สนับสนุนไวนิลการป้องกันโรคไข้เลือดออก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 52 ราย มีชมรมแกนนำเกิดขึ้น มีสมาชิก 13 ราย

     

    60 0

    2. ร่วมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลุฏน้ำยุงลายในชุชน วัด โรงเรียน จำนวน 4 ครั้ง คณะกรรมการสุ่มตรวจลูกน้ำ

    วันที่ 16 กันยายน 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุ3โรงเรียน ในชุมชน วัด
    มีคณะกรรมการสุ่มตรวจลุกน้ำยุงลาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย พื้นที่ดำเนินการ 4 หมู่บ้านได้แก่ หมู่ที่ 1,2,4,5 จำนวน 585 หลังคาเรือน สำรวจ 585 หลังคาเรือน พบลูกน้ำ 55 หลังคาเรือน  ค่า HI 8.09
    โีรงเรียนบ้านทุ่งดินลุ่ม  โรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์ โรงเรีัยนบ้านป่าแก่บ่อหิน ศพด.บ้านป่าแก่บ่อหิน ไม่พบลุดน้ำ ค่าCI=0 รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย สุ่มไขว้หมู่ที่ 1,2ต.ป่าแก่บ่อหิน รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย สุ่มไขว้หมู่ที่ 4,5

     

    42 0

    3. จัดมุมการเรียนรู้ โดยมีคู่มือความรู้ มีสเปรย์กำจัดยุงมีไว้เมื่อพบผู้ป่วยดรคไข้เลือดออกหรือสงสัยไข้เลือดออก นำไปพ่นกำจัดยุงตัวแก่ในบ้านผู้ป่วยในเบื้องต้นระหว่างรอการพ่นหมอกควันจากอบต.

    วันที่ 16 กันยายน 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมมุมเรียนรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมมชน 4 แห่ง ในโรงเรียน 3 แห่ง 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    หลังการตรวจลูกน้ำยุงลาย พบค่าHI<10  ค่าCI=0 จัดกิจกรรมมุมเรียนรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมมชน 4 แห่ง ในโรงเรียน 3 แห่ง
    สนับสนุนสเปรย์กำจัดยุงเพื่อควบคุโรคเบื้องต้น มีคู่มือความรู้เรื่องไข้เลือดออก

     

    40 0

    4. อบรมให้ความรู้แกนนำ/อสม.

    วันที่ 6 ตุลาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมแกนนำและ อสม.เกี่ยวกับการค้นหาและควบคุมโรคเบื้องต้น จัดดกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มแกนนำ อสม. มีความรู้เกี่ยวกับการค้นหาและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเบื้องต้นได้

     

    40 0

    5. ประกวดหลังคาเรื่อนที่ไม่พบลูกน้ำยุงลาย

    วันที่ 13 พฤศจิกายน 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    ออกสำรวจลูกน้ำยุงลายในครัวเรือนโดยคณะกรรมการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการสำรวจครัวเรือน หมู่ที่ 1 บ้านป่าแก่บ่อหิน ค่าHI 9.7 ผลการสำรวจครัวเรือน หมู่ที่ 2 บ้านคลองห้วยบ่า ค่าHI 9.2 ผลการสำรวจครัวเรือน หมู่ที่ 4 บ้านขุมทรัพย์์ ค่าHI9.3 ผลการสำรวจครัวเรือน หมู่ที่ 5 บ้านสะพานวา ค่า HI 9.17 โดยรวม ค่าHI 8.09 ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด แต่ต้องมีการพัฒนาต่อเพื่อให้จำนวนลดลงต่อไป

     

    60 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 107คน มีความรู้ครบ100% 2.มีกิจกรรมมุมเรียนรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน 4 แห่ง โรงเรียน3แห่ง 3.ค่าHI

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออกร้อยละ 90
    100.00

    อบรมให้แกนนำและนักเรียนจำนวน 107คน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคร้อยละ100

    2 เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1.เมื่อพบผู้ป่วย/สงสัยป่วยด้วยไข้เลือดออก สามารถควบคุมโรคได้ภายใน 28 วัน 2.ค่า HI น้อยกว่า10
    100.00

    1.จัดกิจกรรมมุมเรียนรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน 4 แห่ง ในโรงเรียน3แห่ง 2.จัดกิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลุกน้ำยุงลายในชุมชนและโรงเรียน ค่าHIน้อยกว่า10 ค่าCL=0 3.พบผู้ป่วยสงสัยไข้เลือดออก1ราย หมู่ที่ 1ตำบลป่าแก่บ่อหิน สามารถควบคุมโรคได้ภายใน28วัน

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 107
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 100 107
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่มีมุมเรียนรู้ในชุมชนและโรงเรียน ค่าHI

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการไข้เลือดออกป้องกันได้ด้วยมือเรา จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5295-2-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวรรณี เอี้ยวสกุล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด