กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ


“ โครงการชาวอุใดเจริญหัวใจ Zero Waste (ลดขยะ ลดโรค) ”

ศาลาเอนกประสงค์ ตลาดนัดผัง 1 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ชมรมกลุ่มสตรีตำบลอุใดเจริญ

ชื่อโครงการ โครงการชาวอุใดเจริญหัวใจ Zero Waste (ลดขยะ ลดโรค)

ที่อยู่ ศาลาเอนกประสงค์ ตลาดนัดผัง 1 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5282-2-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชาวอุใดเจริญหัวใจ Zero Waste (ลดขยะ ลดโรค) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศาลาเอนกประสงค์ ตลาดนัดผัง 1 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวอุใดเจริญหัวใจ Zero Waste (ลดขยะ ลดโรค)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชาวอุใดเจริญหัวใจ Zero Waste (ลดขยะ ลดโรค) " ดำเนินการในพื้นที่ ศาลาเอนกประสงค์ ตลาดนัดผัง 1 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5282-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 44,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ขยะ คือ สิ่งของเหลือใช้และการบริโภค ซึ่งเสื่อมสภาพจนใช้การไม่ได้จากกระบวนการผลิต การอุปโภคและการบริโภค ซึ่งเสื่อมสภาพจนใช้การไม่ได้ ขยะสามารถก่อพิษและอันตรายแก่ร่างกายได้ คือ สารพิษและสารเคมีในขยะอันตรายและขยะติดเชื้อ เชื้อโรคต่างๆที่ทำให้เกิดโรคระบบทางเดินอาหารระบบทางเดินหายใจ ผิวหนังภูมิแพ้ จากการสูดดม การสัมผัส ฝุ่นละออง กลิ่นเน่าเหม็น ควันจากการเผา จากกองขยะ เป็นต้นหากมีการสะสมหรือจัดการไม่ถูกวิธีส่งผลเสียต่อสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจอีกด้วยประชาชนทุกช่วงวัยสามารถเป็นกลุ่มเสี่ยงที่อาจได้รับผลกระทบจากปัญหาการสะสม หมักหมมของขยะมูลฝอยการจัดการขยะที่ดีควรมาจากต้นทาง บุคคลหรือและครอบครัวหรือชุมชนต้องมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการจัดการขยะตั้งแต่ต้นทางด้วยหลักการ ๓ Rs คือ การลดการใช้ การใช้ซ้ำ และการนำกลับมาใช้ใหม่
ในการนี้ทางชมรมกลุ่มสตรีได้เล็งเห็นถึงปัญหาและความสำคัญดังกล่าว จึงจัดโครงการนี้ขึ้นเพื่อส่งเสริมความรู้ให้กับประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มแม่บ้านในการคัดแยกขยะและจัดการขยะตั้งแต่ต้นทางในการลดปริมาณขยะมูลฝอยที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และปลูกจิตสำนึกในการรักษ์โลก รักษ์สุขภาพ ด้วยการจัดการขยะอย่างถูกวิธี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมความรู้ผลกระทบของมลพิษจากขยะมูลฝอยต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
  2. 2. เพื่อปลูกจิตสำนึกให้เห็นความสำคัญของการจัดการขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธีซึ่งส่งผลดีต่อสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจถึงปัญหามลพิษจากขยะมูลฝอยที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
    2. ประชาชนมีความตระหนักในการจัดการขยะอย่างถูกวิธีเพื่อลดปัญหามลพิษที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมเชิงปฏิบัติการ

    วันที่ 1 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ และผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการคัดแยกขยะมากขึ้น

     

    200 197

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    โครงการ ชาวอุใดเจริญหัวใจ Zero Waste (ลดขยะ ลดโรค) ประจำปีงบประมาณ 2560 มีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกจิตสำนึกให้เห็นความสำคัญของการจัดการขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธีซึ่งส่งผลดีต่อสุขภาพเป้าหมาย ประชาชนตำบลอุใดเจริญ จำนวน 200 ครัวเรือน ประกอบด้วยกิจกรรม การบรรยายสถานการณ์ปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสุขภาพ การคัดแยกขยะ 4ประเภท คือ ขยะอินทรีย์ ขยะอันตราย ขยะรีไซเคิลและขยะทั่วไป การจัดการขยะแต่ละประเภทให้เกิดประสิทธิภาพและมีการสาธิตการจัดการขยะอินทรีย์ให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพ โดยการทำน้ำหมักชีวภาพ มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมดจำนวน 197 คน คิดเป็นร้อยละ 98.50 มีการให้ความร่วมมือในระดับดีมาก จากการทดสอบความรู้จากแบบสอบถาม (เติมข้อความ) ก่อนการอบรมผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้ผ่านเกณฑ์ จำนวน 150 คน คิดเป็นร้อยละ 76.14 และหลังการอบรม มีความรู้ผ่านเกณฑ์ 192 คน คิดเป็นรอยละ 97046 มีไม่ผ่้านเกณฑ์หลังการอบรม จำนวน 5คน คิดเป็นรอยละ 2.54 บางคนสับสนกับคำว่าขยะอันตราย เพราะทำให้เกิด การบาดเจ็บ การแยกขยะ เป็นอันตราย ขยะแห้ง และขยะเปียกเป็นต้น กลุ่มนี้จะให้ศึกษาจากเอกสารเพิ่มเติมและพยายามสร้างความเข้าใจผ่านกิจกรรมต่อไป สิ่งที่เกิดขึ้นหลังผ่านกิจกรรม คือความตระหนักในผลกระทบของขยะ และมูลค่าหรือประโยชน์ที่ได้รับจากการคัดแยกขยะมูลฝอย

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อส่งเสริมความรู้ผลกระทบของมลพิษจากขยะมูลฝอยต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
    ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายให้ความสนใจเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมาย
    98.50

     

    2 2. เพื่อปลูกจิตสำนึกให้เห็นความสำคัญของการจัดการขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธีซึ่งส่งผลดีต่อสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ ความเข้าใจถึงผลกระทบและวิธีการจัดการขยะเพื่อสุขภาพอนามัยของตนเองและครอบครัว
    76.14

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมความรู้ผลกระทบของมลพิษจากขยะมูลฝอยต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม (2) 2. เพื่อปลูกจิตสำนึกให้เห็นความสำคัญของการจัดการขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธีซึ่งส่งผลดีต่อสุขภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชาวอุใดเจริญหัวใจ Zero Waste (ลดขยะ ลดโรค) จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5282-2-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ชมรมกลุ่มสตรีตำบลอุใดเจริญ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด