กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน


“ พัฒนาศักยภาพและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ป่าแก่บ่อหิน ปีงบประมาณ2560 ”

ม.5 อบต.ป่าแก่บ่อหิน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ อบต.ป่าแก่บ่อหิน

ชื่อโครงการ พัฒนาศักยภาพและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ป่าแก่บ่อหิน ปีงบประมาณ2560

ที่อยู่ ม.5 อบต.ป่าแก่บ่อหิน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5295-4-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาศักยภาพและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ป่าแก่บ่อหิน ปีงบประมาณ2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.5 อบต.ป่าแก่บ่อหิน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาศักยภาพและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ป่าแก่บ่อหิน ปีงบประมาณ2560



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาศักยภาพและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ป่าแก่บ่อหิน ปีงบประมาณ2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ม.5 อบต.ป่าแก่บ่อหิน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5295-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,424.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน ตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๔๗ มุ่งเน้นให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสมรรถภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการบริการสาธารณสุขได้ทั่วถึงและมากขึ้นสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ และส่งเสริมให้บุคคลากรด้านสุขภาพในพื้นที่ได้แสดงบทบาทในการสนับสนุนประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง ส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเอง และการสร้างกลไกในสังคมที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ปัญหาต่างๆที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วง โดยเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์กรภาคีต่างๆในพื้นที่ให้เข้ามาบริหารจัดการระบบสุขภาพร่วมกันอย่างแข็งขัน เกิดระบบสุขภาพชุมชนในทุกพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลป่าแก่บ่อหินเข้าร่วมดำเนินการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นขึ้น โดยจัดกิจกรรมบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสมรรถภาพ การรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก(ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต) ของประชาชนในพื้นที่ตำบลป่าแก่บ่อหิน ให้ได้เข้าถึงบริการสาธารณสุขอย่างทั่วถึง ตลอดจนส่งเสริมให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึง โดยการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมของบุคคลในพื้นที่ ซึ่งการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนและการบริหารจัดการกองทุน เป็นกลไกสำคัญต่อความสำเร็จของการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้เกิดการทำงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกองทุนและเรียนรู้ร่วมกัน พัฒนาการดำเนินงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพดีทั้งกายและจิต ดังนั้นคณะกรรมการจึงจำเป็นต้องพัฒนาความรู้ สร้างจิตสำนึกร่วมกัน ร่วมเป็นเจ้าของและร่วมกันบริหารจัดการกองทุน ดังนั้นคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพจึงมีความจำเป็นต้องใช้งบประมาณในการบริหารจัดการกองทุนตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.๒๕๕๗ และเอกสารแนบท้ายประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ลงวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ เรื่อง หลักเกณฑ์ การรับเงิน การเก็บรักษาเงิน การจ่ายเงิน การจัดทำบัญชีและรายงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ใช้งบประมาณตามวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ตามประกาศคณะกรรมการหลักฯ ข้อข้อ ๗ (๔) สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯให้มีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน/โครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
  2. เพื่อจัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สนับสนุนการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่และบุคลากรสำหรับดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ให้เกิดประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 18

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.แผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ 2.การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมคณะกรรมการกองทุนและที่ปรึกษา ครั้งที่ 1เพื่ออนุมัติแผนงาน โครงการ

    วันที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    0

     

    18 14

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ผลการดำเนินงาน
    2. มีการประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาโครงการ ติดตามการดำเนินงานของกองทุนฯ จำนวน 4 ครั้งในปีงบประมาณ 2560
    3. มีกิจกรรม/โครงการที่ของบประมาณเพื่อการสนับสนุนการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรม
      ทั้งสิ้น  14 โครงการ
      2.1 ได้รับการอนุมัติงบประมาณ จำนวน  13  โครงการ  คิดเป็นร้อยละ  92.86  ของโครงการที่ขอสนับสนุนงบประมาณ 2.2 โครงการที่ขอสนับสนุนและยังไม่อนุมัติงบประมาณ จำนวน 1 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 7.14  ของโครงการที่ขอสนับสนุนงบประมาณ ได้แก่ โครงการส่งเสริมป้องกันโรคไม่ติดต่อในชุมชน ปี 2560 งบประมาณที่ขอสนับสนุน จำนวน 60,180 บาท  สาเหตุที่ผลการพิจารณายังไม่อนุมัติ งบประมาณกองทุนฯ เนื่องจาก 1. กิจกรรมในการดำเนินงานไม่ชัดเจน กลุ่มเป้าหมายระบุไม่ชัดเจน  กิจกรรมไม่สอดคล้องกับงบประมาณที่ใช้ไป   2. งบประมาณที่ใช้ มีบางส่วนไม่สอดคล้องกับกิจกรรมและระเบียบการเบิกจ่าย เสี่ยงต่อการใช้จ่ายเงินผิดวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
    4. ระยะเวลาในการนำเสนอโครงการเพื่อขอรับงบประมาณสนับสนุนล่าช้า อยู่ช่วงไตรมาสที่ 3 แล้ว ประกอบกับต้องแก้ไขรายละเอียดกิจกรรม งบประมาณค่าใช้จ่ายหลายส่วน จึงไม่สามารถนำเข้าพิจารณาสนับสนุนงบประมาณกองทุนฯได้ทันเวลาในปีงบประมาณ 2560
    5. มติคณะกรรมการกองทุนฯให้นำกลับไปแก้ไขให้ถูกต้อง ตามระเบียบการเบิกจ่ายก่อน จึงยังไม่อนุมัติ ขอให้ปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ แล้วนำมาเข้าประชุมเพื่อพิจารณาอีกครั้ง


      แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ จำแนกตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ ดังนี้ กิจกรรมประเภทที่ 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข [ข้อ 7(1)]จำนวน    6    โครงการ ได้แก่
    6. โครงการวัยรุ่นไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัย เด็กพัฒนาการดีสดใส ใส่ใจแม่และเด็ก งบประมาณ 32,795บาท  ผู้รับผิดชอบโครงการ  รพ.สต.บ้านทุ่งดินลุ่ม
    7. โครงการชุมชนร่วมใจ ใส่ใจลดโลกร้อน เพื่อลดโรคร้าย  งบประมาณ 18,690 บาท ผู้รับผิดชอบโครงการ รพ.สต.บ้านทุ่งดินลุ่ม
    8. โครงการชุมชนร่วมใจ ต้านภัยโรคติดต่อแบบยั่งยืน  งบประมาณ 71,055 บาท  ผู้รับผิดชอบโครงการ รพ.สต.บ้านทุ่งดินลุ่ม
    9. โครงการกันก่อนแก้ เพื่อฟันแท้สวยงาม  งบประมาณ 26,090 บาท ผู้รับผิดชอบโครงการ                    รพ.สต.บ้านทุ่งดินลุ่ม
    10. โครงการเด็กสุขภาพดี นักเรียนและวัยรุ่นไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัย ใส่ใจอนามัยแม่และเด็ก  งบประมาณ 31,820 บาท ผู้รับผิดชอบโครงการ รพ.สต.บ้านเขาแดง
    11. โครงการฟันแท้สวยสดใส งบประมาณ 19,665 บาท ผู้รับผิดชอบโครงการ รพ.สต.บ้านเขาแดง รวมงบประมาณที่สนับสนุน เป็นเงิน 200,115 บาท
      กิจกรรมประเภทที่ 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น [ข้อ7(2)] จำนวน 6 โครงการ  ได้แก่
    12. โครงการชุมชนร่วมใจ ดูแลผู้สูงวัยและผู้พิการ  งบประมาณ 16,040 บาท ผู้รับผิดชอบโครงการ กลุ่ม อสม.หมู่ที่ 1 บ้านป่าแก่บ่อหิน โดย นางพัชนี  จันทร์สอน ประธาน อสม.หมู่ที่ 1
    13. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในชุมชน งบประมาณ 17,540 บาท  ผู้รับผิดชอบโครงการ กลุ่ม อสม.หมู่ที่ 2 บ้านคลองห้วยบ่า โดยนางสาวสุดารัตน์  อินทร์ทอง  ประธาน อสม.หมู่ที่ 2
    14. โครงการไข้เลือดออกป้องกันได้ด้วยมือเรา  งบประมาณ 17,160 บาท  ผู้รับผิดชอบโครงการ กลุ่ม อสม.หมู่ที่4 บ้านขุมทรัพย์ โดยนางวรรณี  เอี้ยวสกุล ประธาน อสม.ม.4
    15. โครงการปรับเปลี่ยนปรับใจ สร้างเด็กไทยให้แข็งแรง งบประมาณ 12,440 บาท ผู้รับผิดชอบโครงการ กลุ่ม อสม.หมู่ที่ 5บ้านสะพานวา โดย นางมะลิวัลย์  คงสง ประธาน อสม.ม.5
    16. โครงการชุมชนร่วมใจ ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ งบประมาณ 15,490 บาท ผู้รับผิดชอบโครงการ กลุ่ม อสม.หมู่ที่7 บ้านเขาแดง โดยนายอิทธิพัทธิ์  ศรีสวัสดิ์ ประธาน อสม.หมู่ที่ 7
    17. โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก งบประมาณ 18,320 บาท  ผู้รับผิดชอบโครงการ กลุ่ม อสม.หมู่ที่ 6 บ้านทุ่งขมิ้น โดยนางนุชจดา  ขำเจริญ ประธาน อสม.หมี่ที่ 6 กิจกรรมประเภทที่ 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ [7(3)] ไม่มีโครงการขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ กิจกรรมประเภท ที่ 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [7(4)] โครงการพัฒนาศักยภาพและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ งบประมาณที่อนุมัติ 43,424 บาท    งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 22,900 บาท คงเหลืองบประมาณที่ยังไม่เบิกจ่าย เป็นเงิน 20,524 บาท กิจกรรมประเภทที่ 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ [ข้อ7(5)] ไม่มี
    18. มีการจัดซื้อตู้เอกสาร สำหรับเก็บเอกสารของกองทุนฯ จำนวน 1 ตู้ รวม งบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากกองทุนฯทั้งหมด 340,529 บาท งบประมาณที่เบิกจ่ายจริงจากกองทุนฯเป็นเงิน 320,005  บาท

      2.ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

      3.การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 43,420 บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง 22,900  บาท คิดเป็นร้อยละ 52.73 งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ 20,524  บาท คิดเป็นร้อยละ 47.27
      เนื่องจากงบประมาณประเภทที่ 4 เบิกจ่ายเงินตามกิจกรรมที่ดำเนินการไปแล้ว เป็นงวดๆ  งบประมาณที่เหลือจากโครงการที่ได้รับการอนุมัติงบประมาณจากกองทุนฯ ยังไม่มีการเบิกจ่าย จึงไม่มีเงินเหลือคืนกองทุนฯ รายละเอียดค่าใช้จ่าย ดังนี้

    19. ค่าเครื่องดื่มและอาหารว่างในการประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ เป็นเงิน  900  บาท
    20. ค่าจัดซื้อตู้เอกสารเพื่อเก็บเอกสารกองทุนฯ จำนวน 1 ตู้     เป็นเงิน 5,500 บาท
    21. ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุนฯและที่ปรึกษา เป็นเงิน     เป็นเงิน  16,500 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  22,900  บาท (เงินสองหมื่นสองพันเก้าร้อยบาทถ้วน)


      4.ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน 4.1 ความล่าช้าในการส่งโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ
      4.2 มีการปรับแก้รายละเอียดกิจกรรมและงบประมาณเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
      ส่งผลให้การพิจารณาโครงการมีความล่าช้า  การดำเนินกิจกรรมมีความล่าช้าตามไปด้วย ทำให้โครงการในแต่โครงการจำเป็นต้องขอขยายเวลาการดำเนินงานออกไปในห้วงปีงบประมาณ 2561

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน/โครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
    ตัวชี้วัด : 1.มีการประชุมกรรมการเพื่อพิจารณาและติดตามงานอย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี 2.โครงการที่เสนอได้รับการพิจารณาอย่างน้อย 80%
    0.00

     

    2 เพื่อจัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สนับสนุนการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่
    ตัวชี้วัด : 1.วัสดุสำนักงานฯสำหรับการบริหารจัดการกองทุนฯถูกซื้อตามแผนงานที่วางไว้ 2.ครุภัณฑ์สำหรับบริหารกองทุนฯถูกจัดซื้อตามแผนงานที่วางไว้

     

    3 เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่และบุคลากรสำหรับดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ให้เกิดประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : 1.คณะกรรมการบริหารกองทุนฯเข้าร่วมประชุม/อบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกองทุนฯ ทุกครั้งที่มีการเชิญเข้าร่วมประชุม/อบรม 2. คณะกรรมการกองทุนฯได้ัรบการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกองทุนฯ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 18
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 18

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน/โครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ (2) เพื่อจัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สนับสนุนการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่และบุคลากรสำหรับดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ให้เกิดประสิทธิภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    พัฒนาศักยภาพและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ป่าแก่บ่อหิน ปีงบประมาณ2560 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5295-4-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ อบต.ป่าแก่บ่อหิน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด