โครงการอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพผู้บริโภค ประจำปีงบประมาณ 2563
ชื่อโครงการ | โครงการอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพผู้บริโภค ประจำปีงบประมาณ 2563 |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | สถานีอนามัยจุฬาภรณ์อาทรราษฎร์ |
วันที่อนุมัติ | 9 มีนาคม 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 20,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางนภาพร พ่อลีละ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลดงขี้เหล็ก อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบัน มีการปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัย รวมไปถึงการจัดหาและเลือกที่จะรับประทานอาหารจากอดีตที่มีการจัดหาวัตถุดิบมาปรุงและประกอบอาหารเองที่บ้านหรือในครัวเรือน แต่ในปัจจุบันมีการจัดตั้งร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารไว้บริการอาหารปรุงสำเร็จแ | 3.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนผู้บริโภค มีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง
|
0.00 | |
2 | เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความรู้และตระหนักถึงพิษภัยอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ดีขึ้น |
80.00 | |
3 | เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจประเมินและคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพ ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองสารเคมีในเลือด |
100.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 130 | 20,000.00 | 0 | 0.00 | |
20 ก.ค. 63 | ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการเลือกบริโภคอาหารปลอดภัยและพิษภัยอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช | 50 | 8,200.00 | - | ||
21 ก.ค. 63 | จัดกิจกรรมรณรงค์ตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร | 30 | 4,600.00 | - | ||
22 ก.ค. 63 | ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร อสม.นักวิทยาศาสตร์ชุมชน อสม. และ กสค. | 50 | 7,200.00 | - |
1.จัดทำแผนการคัดกรองสารเคมีในเลือด - จัดทำแผนการคัดกรองสารเคมีในเลือด - จัดทำแผนการสุ่มตรวจอาหาร และดำเนินการจำนวน 4 ครั้ง/ปี 2.ขั้นตอนการดำเนินงาน - ติดต่อประสานงานกับ อสม. เพื่อกำหนดนัดหมาย - จัดซื้อวัสดุ อุปกรร์ประกอบการสุ่มตรวจอาหาร - จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการอบรมพัฒนาศักยภาพแก่ อสม.นักวิยาศาสตร์ชุมชน อสม. และ กสค. - จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม และเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3.ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานที่กำหนด - ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร แก่ อสม.นักวิทยาศาสตร์ชุมชน อสม. และ กสค. - รณรงค์ตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร การเลือกซื้ออาหารที่ปลอดภัย สะอาด อร่อย และการตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหาร - ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการเลือกบริโภคอาหารปลอดภัยและพิษภัยอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มไม่ปลอดภัย - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาอาหารปนเปื้อน 4.ถอดบทเรียนและสรุปผลการดำเนินงานโครงการ 5.รายงานผลการดำเนินงานให้คณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบลดงขี้เหล็ก
1.ผู้บริโภคได้รับบริการอาหารที่สะอาดปลอดภัย 2.สถานประกอบการด้านอาหารที่ได้มาตรฐานมีการบริการอาหารที่สะอาดปลอดภัยสำหรับผู้บริโภค 3.ประชาชนผู้บริโภค มีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 ก.ย. 2563 13:57 น.