กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา


“ แก้ไขภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ”

ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวปาตีเมาะ เฮงดาดา

ชื่อโครงการ แก้ไขภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์

ที่อยู่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L8278-01-005 เลขที่ข้อตกลง 9/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2563 ถึง 30 ธันวาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"แก้ไขภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
แก้ไขภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์



บทคัดย่อ

โครงการ " แก้ไขภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63-L8278-01-005 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2563 - 30 ธันวาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,380.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโลหิตจางยังเป็นปัญหาสำคัญในประเทศที่กำลังพัฒนา สารอาหารที่มีความสำคัญที่ทำให้เกิดภาวะ โลหิตจาง และพบได้บ่อยคือ การขาดธาตุเหล็ก เพราะธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการสังเคราะห์ฮีโมโกลบิน ซึ่งทำหน้าที่จับกับออกซิเจนและส่งให้ทุกเซลล์ในร่างกาย หากหญิงตั้งครรภ์เกิดภาวะโลหิตจางแล้วจะทำคลอดทารกก่อนกำหนด ทำให้เกิดทารกน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ และมีผลกระทบถึงพัฒนาการเด็กและสติปัญญาในการเรียนรู้ต่ำ ซึ่งปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของมารดาและทารก ซึ่งจากการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของตำบลบันนังสตาพบว่า อัตราหญิงหญิงตั้งครรภ์เกิดภาวะโลหิตจางใกล้คลอดร้อยละ…๑๓๙…ซึ่งสูงกว่าเป้าหมาย ( เป้าหมายไม่เกินร้อยละ ๑o) จึงได้หาวิธีการเพื่อปรับปรุงการให้บริการในงานอนามัยและเด็ก เพื่อแก้ไขปัญหา  ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์และเป็นการพัฒนาการให้บริการในงานอนามัยแม่และเด็ก การปรับรูปแบบและกลวิธีการให้บริการที่สอดคล้องกับความต้องการตามความเหมาะสม ของมาตรฐานการบริการสาธารณสุขและด้านวัฒนธรรม ซึ่งจะก่อให้เกิดคุณภาพการบริการที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน สามารถช่วยให้หญิงตั้งครรภ์ดำเนินชีวิตได้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ ปรับวิถีชีวิตและดูแลตนเองให้ดำเนินไปได้ภายใต้ความผันแปรของช่วงพัฒนาการ จากการสำรวจพฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ในการป้องกันภาวะโลหิตจางปี ๒๕๖๒ พบว่า รับประทานอาหารพวกเนื้อสัตว์อย่างใดอย่างหนึ่งอย่างน้อย ๑๒ช้อนกินข้าวต่อวันสม่ำเสมอร้อยละ ๔๘ รับประทานอาหารเครื่องในสัตว์อย่างใดอย่างหนึ่งอย่างน้อยวันละ2ช้อนกินข้าวร้อยละ ๑๒ รับประทานถั่วเมล็ดแห้งต่างๆ  อย่างน้อย5ช้อนชาร้อยละ๑๔ ดื่มเครื่องดื่ม(นมสด นมถั่วเหลือง น้ำเต้าหู้ หรือโอวัลติน)หลังอาหารทันทีหรือภายใน  ๑ ชั่วโมงสม่ำเสมอร้อยละ ๓o รับประทานผักประเภทชะพลู หรือหน่อไม้ ผักโขม1ถ้วยต่อวันร้อยละ o     ดังนั้นเพื่อป้องกันภาวะซีดตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ และลดภาวะซีดในขณะตั้งครรภ์ งานบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลบันนังสตา  จึงได้จัดทำโครงการแก้ไขภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ เพื่อลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ตลอดจน หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ที่ถูกต้องในการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ เพื่อคุณภาพชีวิตของมารดาที่มีความสำคัญต่อทารกที่ จะเป็นเยาวชนของชาติโดยมุ่งเน้นให้ภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาชุมชนด้วยตนเอง  อันจะก่อให้เกิดความยั่งยืนของโครงการต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงวัยวัยเจริญพันธุ์มีความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้องเรื่องภาวะโลหิตจาง ในเขตรับผิดชอบ ( ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๗ ม.๙ ม.๑o ม.๑๑ )
  2. เพื่อให้หญิงวัยวัยเจริญพันธุ์มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจาง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 300
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. หญิงวัยเจริญพันธุ์เกิดความรู้ความเข้าใจ ปรับแนวคิดและให้ความสำคัญในการตื่นตัวต่อการมาฝากครรภ์ เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ ๒. อัตราหญิงตั้งครรภ์เกิดภาวะโลหิตจางใกล้คลอดไม่เกินร้อยละ๑o


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้หญิงวัยวัยเจริญพันธุ์มีความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้องเรื่องภาวะโลหิตจาง ในเขตรับผิดชอบ ( ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๗ ม.๙ ม.๑o ม.๑๑ )
    ตัวชี้วัด : หญิงวัยวัยเจริญพันธุ์มีความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้องเรื่องภาวะโลหิตจางร้อยละ๘o
    0.00

     

    2 เพื่อให้หญิงวัยวัยเจริญพันธุ์มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจาง
    ตัวชี้วัด : หญิงวัยวัยเจริญพันธุ์มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างถูกต้องเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางร้อยละ๘o
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 300
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงวัยวัยเจริญพันธุ์มีความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้องเรื่องภาวะโลหิตจาง ในเขตรับผิดชอบ ( ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๗ ม.๙ ม.๑o ม.๑๑ ) (2) เพื่อให้หญิงวัยวัยเจริญพันธุ์มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจาง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    แก้ไขภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 63-L8278-01-005

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวปาตีเมาะ เฮงดาดา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด