กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ร่มไทร


“ โครงการบริหารจัดการขยะ ส่งเสริมการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ”

ตำบลร่มไทร อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายไพดี มะสาแม

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการขยะ ส่งเสริมการคัดแยกขยะที่ต้นทาง

ที่อยู่ ตำบลร่มไทร อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2533-2-08 เลขที่ข้อตกลง 13/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 กันยายน 2563 ถึง 14 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการขยะ ส่งเสริมการคัดแยกขยะที่ต้นทาง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลร่มไทร อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ร่มไทร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการขยะ ส่งเสริมการคัดแยกขยะที่ต้นทาง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการขยะ ส่งเสริมการคัดแยกขยะที่ต้นทาง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลร่มไทร อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2533-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 กันยายน 2563 - 14 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,425.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ร่มไทร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะมูลฝอย นับว่าเป็นปัญหาสำคัญ ทั้งในระดับประเทศและระดับชุมชน สาเหตุเนื่องจากประชากรในประเทศไทยมีจำนวนมากขึ้น บ้านเรือนมีจำนวนเพิ่มขึ้น ร้านค้า สถานประกอบการอื่นๆ มีจำนวนมากขึ้น และสิ่งที่ตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้คือขยะมูลฝอยย่อมมีมากขึ้นไปด้วย จนเป็นปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม แหล่งเพาะพันธ์โรคต่างๆ ชุมชนจัดเป็นแหล่งสำคัญหนึ่งที่ผลิตขยะของเสียสู่สิ่งแวดล้อม แม้ว่าขยะจากชุมชน หรืออาคารบ้านเรือนจะไม่ใช่ของเสียที่เป็นอันตรายเมื่อเปรียบเทียบกับของเสียจากโรงงานอึตสาหกรรม หรือการเกษตร แต่ปัจจุบันปริมาณของขยะที่มีจำนวนมากก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน และสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะขยะมูลฝอยจากชุมชนหรืออาคารบ้านเรือนฃ   เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนในชุมชนตระหนักถึงปัญหาขยะและความจำเป็นในการคัดแยกขยะ การนำขยะไปใช้ให้เกิดประโยชน์ และการป้องกันโรคต่างๆ ที่เกิดจากขยะที่เป็นแหล่งพาหะนำโรคต่างๆ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคฉี่หนู ทั้งยังส่งเสริมให้แต่ละครัวเรือนมีการจัดการขยะต้นทางเพื่อไม่ให้ขยะดังกล่าวตกค้าง ทำให้ชุมชนสะอาด น่าอยู่ ดังนั้น กองสวัสดิการสังคม องค์การบริหารส่วนตำบลร่มไทร จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการขยะ ส่งเสริมการคัดแยกขยะที่ต้นทาง เพื่อสร้างสุขภาวะที่ดีให้เกิดขึ้นในชุมชน มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสุขภาพที่แข็งแรง ปราศจากโรคภัย ในขณะเดียวกันก็มีสุขภาพจิตที่สดใสโดยมุ่งหวังให้เกิดผลสัมฤทธิ์เป็นรูปธรรม โดยสอดคล้องกับพื้นที่และสถานการณ์ปัจจุบัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่ออบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะต้นทางโดยใช้หลัก 3 ช คือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่
  2. เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างความตระหนักให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง โดยการสร้างจิตสำนึกแก่ประชาชน
  3. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์โรค และความปลอดภัยด้านสุขภาพจากขยะมูลฝอยในครัวเรือน และชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะต้นทาง และสาธิตและฝึกปฏิบัติการคัดแยกขยะ
  2. กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 35
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีพฤติกรรมที่ดีในการกำจัดขยะมูลฝอย
  2. ประชาชนมีจิตสำนึกในการกำจัดขยะมูลฝอยโดยใช้หลัก 3RS คือ การใช้น้อย การใช้ซ้ำ และการนำกลับมาใช้ใหม่
  3. สิ่งแวดล้อมในชุมชนน่าอยู่ และปลอดภัยจากโรคติดต่อ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะต้นทาง และสาธิตและฝึกปฏิบัติการคัดแยกขยะ

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจในการคัดแยกขยะ ณ แหล่งกำเนิด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวนผู้ที่เข้าร่วมโครงการ 135 คน ป้ายไวนิล วัสดุอุปกรณ์

 

135 0

2. กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ในชุมชน

วันที่ 11 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์การลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายไวนิล ประชาชนได้รับความรู้ในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง

 

135 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่ออบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะต้นทางโดยใช้หลัก 3 ช คือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมอบรมตามโครงการฯ ร้อยละ 100
0.00

 

2 เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างความตระหนักให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง โดยการสร้างจิตสำนึกแก่ประชาชน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายให้ความสนใจ และตอบข้อซักถามวิทยากรได้อย่างถูกต้อง
0.00

 

3 เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์โรค และความปลอดภัยด้านสุขภาพจากขยะมูลฝอยในครัวเรือน และชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 135
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 35
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่ออบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะต้นทางโดยใช้หลัก 3 ช คือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่ (2) เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างความตระหนักให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง โดยการสร้างจิตสำนึกแก่ประชาชน (3) เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์โรค และความปลอดภัยด้านสุขภาพจากขยะมูลฝอยในครัวเรือน และชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะต้นทาง และสาธิตและฝึกปฏิบัติการคัดแยกขยะ (2) กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการขยะ ส่งเสริมการคัดแยกขยะที่ต้นทาง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2533-2-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายไพดี มะสาแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด