กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง


“ สถานศึกษาปลอดภัยจากโรคไวรัสโคโรน่า 2019 ”

ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดนาโอ่ปิปผลิกประชาสรรค์ (นายจินดา แสงขาว)

ชื่อโครงการ สถานศึกษาปลอดภัยจากโรคไวรัสโคโรน่า 2019

ที่อยู่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3360-2-17 เลขที่ข้อตกลง .................

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"สถานศึกษาปลอดภัยจากโรคไวรัสโคโรน่า 2019 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สถานศึกษาปลอดภัยจากโรคไวรัสโคโรน่า 2019



บทคัดย่อ

โครงการ " สถานศึกษาปลอดภัยจากโรคไวรัสโคโรน่า 2019 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3360-2-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามที่กระทรวงสาธารณสุข ได้แจ้งสถานการณ์  ในประเทศไทย การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ทั้งนี้การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองตลอดจนผู้มาติดต่อราชการกับโรงเรียน ตามมาตรการแก้ไขสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของกรมอนามัยและกระทรวงมหาดไทยให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพ ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก“Coronavirus disease 2019” เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส ที่ระบาดเมื่อปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลันปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจาก  เมืองอู่ฮั่น มลฑลหู่เป่ย ประเทศจีน จากที่มีผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวัดใหญ่เป็นจำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนไข้เหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและได้ว่าเป็นเชื้อไวรัสโคโรนา ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ 7 ที่ถูกค้นพบ เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) และเมอร์ส (MERS) ทำให้โรงเรียนเลื่อนการเปิดภาคเรียนจากวันที่ 16 พฤษภาคม 2563 เป็นวันที่ 1 กรกฎาคม 2563 เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคดังกล่าว
โรงเรียนวัดนาโอ่ปิปฺผลิกประชาสรรค์ มีนักเรียน จำนวน 158 คน ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 12 คน ผู้ปกครอง จำนวน 130 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและที่ปรึกษา จำนวน 25 คน ได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อควบคุมเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) รองรับการเปิดภาคเรียนเพื่อความปลอดภัยของนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน และผู้ที่มาติดต่อราชการกับโรงเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยจากโรคแก่นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาแลผู้ที่มาติดต่อราชการกับโรงเรียนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  2. 2. เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1 อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผู้ปกครองนักเรียน 1.2 อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา
  2. 2.เตรียมสถานที่ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  3. 3.จัดหาวัสดุอุปกรณ์และในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 170
กลุ่มวัยทำงาน 130
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อ     ไวรัสโคโรนา (COVID-19   2. นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามแนวทาง     การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)   3. นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19)   4. ชุมชนมีความปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)   5. ผู้มาติดต่อราชการปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) จากโรงเรียน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 3.จัดหาวัสดุอุปกรณ์และในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

วันที่ 23 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. หน้ากากผ้า สำหรับเด็ก มีสัญลักษณ์ ร.ร. จำนวน 340 ชิ้น x 40 บ.  เป็นเงิน = 13,600 บ.
  2. หน้ากากอนามัย จำนวน  3 กล่อง x 500 บ.
      เป็นเงิน = 1,500 บ.
  3. เจลล้างมือ ขนาด 450 ml จำนวน 2 โหล x 3,000 บ.   เป็นเงิน  6,000 บาท
  4. สบู่เหลวล้างมือเดทตอล  จำนวน 3 โหล x 950 บ.   เป็นเงิน  2,850  บาท 5.เครื่องวัดอุณหภูมิอินฟาเรด เทอร์โมมิเตอร์วัดไข้แบบไม่สัมผัส  จำนวน 2 เครื่อง X 2,000 บ.  = 4,000 บ.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อ           ไวรัสโคโรนา (COVID-19       2. นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามแนวทาง           การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)       3. นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19)       4. ชุมชนมีความปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)       5. ผู้มาติดต่อราชการปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) จากโรงเรียน

 

0 0

2. 2.เตรียมสถานที่ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

วันที่ 23 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ป้ายล้างมือทุกครั้งก่อนเข้าโรงเรียนและขั้นตอนการล้างมือ      7 ขั้นตอนพร้อมขาตั้ง ขนาด 0.5 x 0.8 เมตร จำนวน 2    ป้าย ๆ ละ 1,000 บ. = 2,000 บาท 2.ป้ายล้างมือทุกครั้งก่อนเข้าห้องเรียน ขนาด 0.5 x 1.0 เมตร
      จำนวน 2 ป้าย ๆ ละ 400 บ. = 800 บาท 3.ป้ายโฟมบอร์ดล้างมือทุกครั้งก่อนเข้าโรงอาหารพร้อมขั้นตอนการล้างมือ 7 ขั้นตอน ขนาด 1 x 1.20 เมตร              จำนวน 1 ป้าย ๆ ละ  600 บ. = 600 บาท
  2. ป้าย x- stand ขั้นตอนการปฏิบัติตนในการมาโรงเรียนและติดต่อราชการ ขนาด 1 x 1.6 เมตรพร้อมขาตั้ง          จำนวน 1 ป้าย ๆ ละ    1,200 บ. = 1,200 บ.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อ           ไวรัสโคโรนา (COVID-19       2. นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามแนวทาง           การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)       3. นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19)       4. ชุมชนมีความปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)       5. ผู้มาติดต่อราชการปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) จากโรงเรียน

 

0 0

3. 1 อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผู้ปกครองนักเรียน 1.2 อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา

วันที่ 24 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 1 มื้อ ๆ ละ 25 บาท จำนวน 130 คน เป็นเงิน = 3,250 บาท (ผู้ปกครอง) 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 1 มื้อ ๆ ละ 25 บาท จำนวน 170 คน เป็นเงิน = 4,250 บาท (นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา)
  2. ค่าไวนิลการอบรม ขนาด 1.2 x 2.4 เมตร จำนวน 1 ป้าย    เป็นเงิน = 500 บาท
  3. ค่าเอกสารการอบรม จำนวน 170 ชุด ๆ ละ 50 บาท            เป็นเงิน = 8,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อ           ไวรัสโคโรนา (COVID-19       2. นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามแนวทาง           การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)       3. นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19)       4. ชุมชนมีความปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)       5. ผู้มาติดต่อราชการปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) จากโรงเรียน

 

300 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยจากโรคแก่นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาแลผู้ที่มาติดต่อราชการกับโรงเรียนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ร้อยละ 100
0.00

 

2 2. เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : 2. กลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามแนวทางการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) 3. ไม่มีจำนวนผู้ป่วยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จากโรงเรียน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 170
กลุ่มวัยทำงาน 130
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยจากโรคแก่นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาแลผู้ที่มาติดต่อราชการกับโรงเรียนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) 2. เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผู้ปกครองนักเรียน 1.2 อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา (2) 2.เตรียมสถานที่ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (3) 3.จัดหาวัสดุอุปกรณ์และในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


สถานศึกษาปลอดภัยจากโรคไวรัสโคโรน่า 2019 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3360-2-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดนาโอ่ปิปผลิกประชาสรรค์ (นายจินดา แสงขาว) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด