โครงการยิ้มสดใสเด็กเล็กฟันแข็งแรง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการยิ้มสดใสเด็กเล็กฟันแข็งแรง ”
ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางวราลักษณ์ ปิยปัญญาธิวัฒน์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้
ธันวาคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการยิ้มสดใสเด็กเล็กฟันแข็งแรง
ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L8402-3-20 เลขที่ข้อตกลง 20/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการยิ้มสดใสเด็กเล็กฟันแข็งแรง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการยิ้มสดใสเด็กเล็กฟันแข็งแรง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการยิ้มสดใสเด็กเล็กฟันแข็งแรง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L8402-3-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 31 ธันวาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,497.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยความเจริญทางด้านเทคโนโลยีความทันสมัยทำให้เด็กในยุคนี้เป็นเด็กที่ติดกับการบริโภคนิยมทั้งทางด้านวัตถุ สิ่งของ อาหารเด็กส่วนมากมักบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์เช่น ขนมขบเคี้ยว ทอฟฟี่ ช็อคโกแลต ขนมหวานต่างๆ การที่เด็กทานอาหารเหล่านี้เข้าไปจะทำให้เด็กมีปัญหาเรื่องฟันผุ ซึ่งปัญหานี้มักเกิดในเด็กปฐมวัยเป็นส่วนมาก การที่จะปลูกฝังให้เด็กรักการแปรงฟันนั้นจึงเป็นสิ่งจำเป็น สิ่งที่จะช่วยให้ปัญหาฟันผุลดน้อยลง การที่เด็กจะปฏิบัติได้อย่างสม่ำเสมอนั้นต้องมีแรงจูงใจหรือการกระทำร่วมกันเป็นกลุ่ม ดังนั้นผู้จัดทำโครงการจึงคิดว่าจะมีการจัดทำโครงการ “ยิ้มสดใสเด็กเล็กฟันแข็งแรง”ขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศรีวิชัย โดยเริ่มจากกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน การทำให้เด็กรักการแปรงฟัน ได้ทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนๆจะเป็นการส่งเสริมให้เด็กรู้จักดูแลสุขภาพช่องปากของตัวเอง
จากการสำรวจสภาวะช่องปากของเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศรีวิชัย จำนวน 69 คน พบว่ามีปัญหาฟันน้ำนมผุ เฉลี่ยคนละ 3 ซี่ ซึ่งสาเหตุของการเกิดฟันผุเนื่องจากเด็กชอบรับประทานอาหารรสหวานอยู่เสมอรวมทั้งผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กขาดการเอาใจใส่ดูแลช่องปากและฟันของเด็กจึงทำให้เกิดปัญหาฟันน้ำนมผุตามมา
จากปัญหาดังกล่าวส่งผลให้เด็กก่อนวัยเรียนภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศรีวิชัยในช่วงวัย 2-5 ปี มีสุขภาพช่องปากที่ควรส่งเสริมให้ทันตสุขภาพเข้ามาดูแลนอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพของเด็กในขณะนั้นแล้ว ยังมีผลเสียต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตด้วย กล่าวคือ ฟันน้ำนมที่เสีย ถูกถอน หรือหลุดไปก่อนที่ฟันแท้จะขึ้นแทนที่ จะทำให้ฟันที่อยู่ติดกันรวน เก ล้ม เอียง เข้าหาช่องว่าง ทำให้ฟันแท้ที่จะขึ้นแทนตำแหน่งนั้นไม่สามารถขึ้นได้อย่างปกติ อาจจะขึ้นมาในลักษณะบิด ซ้อนกันหรือมีขนาดใหญ่ ไม่เหมาะสมกับใบหน้าของเด็ก ซึ่งจะเป็นปมด้อยทำให้เด็กไม่กล้าในการแสดงออก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กอายุ 2-5 ปี
- เพื่อให้เด็กได้แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
- เพื่อให้เด็กได้ใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมการแปรงฟัน
- กิจกรรมการแปรงฟัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
69
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศรีวิชัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
- เด็กดูแลสุขภาพช่องปากได้ถูกวิธี
3. สามารถนำปัญหาสุขภาพช่องปากที่พบไปแก้ไขปัญหาร่วมกับเจ้าหน้าที่ รพ.สต.
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมการแปรงฟัน
วันที่ 4 มกราคม 2565กิจกรรมที่ทำ
ขั้นเตรียมการ
1. ดำเนินการประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน
2. ประชุมให้ความรู้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง เด็กนักเรียน และกรรมการสถานศึกษา โดยวิทยากรเรื่องสุขภาพช่องปาก
3. จัดเตรียมความพร้อมของวัสดุอุปกรณ์ต่างๆในการดำเนินโครงการ
ขั้นดำเนินการ
1. กิจกรรมการให้ความรู้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง นักเรียน เจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปากของนักเรียน โดยวิทยากรเรื่องสุขภาพช่องปาก
1.1 ประชุมครูผู้ดูแลเด็ก พ่อแม่ผู้ปกครอง คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ เจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ
1.2 จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย เช่น โมเดลฟันผุ โมเดลฟันสวย แปรงสีฟัน แก้วน้ำ ยาสีฟัน ภาพเด็กฟันผุเนื่องจากดูแลสุขภาพช่องปากไม่ถูกวิธี เป็นต้น
1.3 จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนโดยวิทยากร 1 คน
2. กิจกรรมการแปรงฟัน
2.1 วิทยากรนำอุปกรณ์ในการแปรงฟันขึ้นมาแนะนำชื่ออุปกรณ์ประกอบด้วย แปรงสีฟัน 1 ด้าม ยาสีฟันผสม ฟลูออไรด์ 1 หลอด โมเดลฟันปลอม 1 ชุด แก้วน้ำ 1 ใบ น้ำสะอาด 1 แก้ว
2.2 วิทยากรนำยาสีฟันขึ้นมาโดยให้นักเรียนสังเกตว่ายาสีฟันที่ใช้ต้องผสมฟลูออไรด์ด้วย ยาสีฟันควรเลือกที่มีความเข้มข้นของฟลูออไรด์เหมาะสมกับช่วงวัยของผู้ใช้ สังเกตได้บนบรรจุภัณฑ์ของยาสี
2. กิจกรรมการแปรงฟัน (ต่อ)
ฟันแต่ละยี่ห้อ โดยช่วงอายุต่ำกว่า 3 ปี ควรใช้ยาสีฟันในปริมาณเพียงเล็กน้อย โดยใช้ส่วนของหัวแปรงสีฟันป้ายยาสีฟันบางๆ ทั้งนี้ ไม่ควรให้เด็กเลียหรือกินยาสีฟันเล่นเด็ดขาด เด็กอายุ 2 -5 ปี ใช้ยาสีฟันที่มีปริมาณฟลูออไรด์ 1,350 ส่วนในล้านส่วนได้ แต่ควรใช้ในปริมาณเท่าเมล็ดถั่วเขียวเท่านั้น หากเด็กไม่มีฟันผุ ก็สามารถใช้ในปริมาณที่น้อยกว่าได้ จากนั้นวิทยากรบีบยาสีฟันใส่แปรงสีฟันขนาดเมล็ดถั่วเขียวโดยแปรงที่ใช้เป็นแปรงขนนุ่มไม่แข็งจนเกินไปขนาดพอดีกับช่องปากเด็กเล็ก นำแปรงจุ่มน้ำในแก้ว แล้วนำแปรงถูโมเดลฟันตามขั้นตอนการแปรงฟันที่ถูกวิธีคือ โดยเริ่มแปรงตามขั้นตอนดังนี้
ทำความสะอาดด้านนอกของฟันบนจากนั้นต่อด้วยฟันล่าง
ทำความสะอาดด้านในของฟันบนจากนั้นต่อด้วยฟันล่าง
ทำความสะอาดบริเวณที่ใช้บดเขี้ยวอาหาร
เพื่อให้มีลมหายใจที่สดชื่น อย่าลืมทำความสะอาดลิ้นด้วย
4. กิจกรรมตรวจสุขภาพช่องปาก
ครูประจำชั้นประเมินสุขภาพช่องปากหลังแปรงฟันของนักเรียนแต่ละคน โดยประเมินสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ลงในแบบบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร นักเรียนคนใดมีฟันผุต้องติดต่อผู้ปกครองให้พาบุตรหลานไปดูแลรักษาฟันที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลใกล้เคียงกับที่นักเรียนอาศัย
ขั้นประเมินผล
ติดตามการดำเนินโครงการ
สรุปโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.เด็กอายุ 2-5 ปี ลดการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 75
2.เด็กได้แปรงฟัน ร้อยละ 100
3.เด็กได้ใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ร้อยละ 100
69
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ขั้นเตรียมการ
1.ดำเนินการประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน
2.ประชุมให้ความรู้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง เด็กนักเรียน และกรรมการสถานศึกษา โดยวิทยากร เรื่องสุขภาพช่องปาก
3.จัดเตรียมความพร้อมของวัสดุอุปกรณ์ต่างๆในการดำเนินโครงการ
ขั้นดำเนินการ
1.กิจกรรมการให้ความรู้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง นักเรียน เจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปากของนักเรียน โดยวิทยากรเรื่องสุขภาพช่องปาก
1.1 ประชุมครูผู้ดูแลเด็ก พ่อแม่ผู้ปกครอง คณะกรรมการบริหารศูนย์ เจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ
1.2 จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย เช่น โมเดลฟันผุ โมเดลฟันสวย แปรงสีฟันแก้วน้ำ ยาสีฟัน ภาพเด็กฟันผุเนื่องจากดูแลสุขภาพช่องปากไม่ถูกวิธี เป็นต้น
1.3 จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนโดยวิทยากร 1 คน
2.กิจกรรมการแปรงฟัน
2.1 วิทยากรนำอุปกรณ์ในการแปรงฟันขึ้นมาแนะนำชื่ออุปกรณ์ประกอบด้วย แปรงสีฟัน 1 ด้าม ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ 1 หลอด โมเดลฟันปลอม 1 ชุด แก้วน้ำ 1 ใบ น้ำสะอาด 1 แก้ว
2.2 วิทยากรนำยาสีฟันขึ้นมาโดยให้นักเรียนสังเกตว่ายาสีฟันที่ใช้ต้องผสมฟลูออไรด์ด้วย ยาสีฟันควรเลือกที่มีความเข้มข้นของฟลูออไรด์เหมาะสมกับช่วงวัยของผู้ใช้ สังเกตได้บนบรรจุภัณฑ์ของยาสีฟัน
ผลที่เกิดจากโครงการ
1.เด็กอายุ 2-5 ปี ลดการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 75
2.เด็กได้แปรงฟัน ร้อยละ 100
3.เด็กได้ใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ร้อยละ 100
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กอายุ 2-5 ปี
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 2-5 ปี ลดการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 75
75.00
75.00
เด็กอายุ 2-5 ปี ลดการเกิดโรคฟันผุ
2
เพื่อให้เด็กได้แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
ตัวชี้วัด : เด็กได้แปรงฟัน ร้อยละ 100
100.00
100.00
เด็กได้แปรงฟัน
3
เพื่อให้เด็กได้ใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
ตัวชี้วัด : เด็กได้ใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ร้อยละ 100
100.00
100.00
เด็กได้ใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
69
69
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
69
69
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กอายุ 2-5 ปี (2) เพื่อให้เด็กได้แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน (3) เพื่อให้เด็กได้ใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการแปรงฟัน (2) กิจกรรมการแปรงฟัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการยิ้มสดใสเด็กเล็กฟันแข็งแรง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L8402-3-20
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางวราลักษณ์ ปิยปัญญาธิวัฒน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการยิ้มสดใสเด็กเล็กฟันแข็งแรง ”
ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางวราลักษณ์ ปิยปัญญาธิวัฒน์
ธันวาคม 2563
ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L8402-3-20 เลขที่ข้อตกลง 20/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการยิ้มสดใสเด็กเล็กฟันแข็งแรง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการยิ้มสดใสเด็กเล็กฟันแข็งแรง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการยิ้มสดใสเด็กเล็กฟันแข็งแรง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L8402-3-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 31 ธันวาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,497.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยความเจริญทางด้านเทคโนโลยีความทันสมัยทำให้เด็กในยุคนี้เป็นเด็กที่ติดกับการบริโภคนิยมทั้งทางด้านวัตถุ สิ่งของ อาหารเด็กส่วนมากมักบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์เช่น ขนมขบเคี้ยว ทอฟฟี่ ช็อคโกแลต ขนมหวานต่างๆ การที่เด็กทานอาหารเหล่านี้เข้าไปจะทำให้เด็กมีปัญหาเรื่องฟันผุ ซึ่งปัญหานี้มักเกิดในเด็กปฐมวัยเป็นส่วนมาก การที่จะปลูกฝังให้เด็กรักการแปรงฟันนั้นจึงเป็นสิ่งจำเป็น สิ่งที่จะช่วยให้ปัญหาฟันผุลดน้อยลง การที่เด็กจะปฏิบัติได้อย่างสม่ำเสมอนั้นต้องมีแรงจูงใจหรือการกระทำร่วมกันเป็นกลุ่ม ดังนั้นผู้จัดทำโครงการจึงคิดว่าจะมีการจัดทำโครงการ “ยิ้มสดใสเด็กเล็กฟันแข็งแรง”ขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศรีวิชัย โดยเริ่มจากกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน การทำให้เด็กรักการแปรงฟัน ได้ทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนๆจะเป็นการส่งเสริมให้เด็กรู้จักดูแลสุขภาพช่องปากของตัวเอง จากการสำรวจสภาวะช่องปากของเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศรีวิชัย จำนวน 69 คน พบว่ามีปัญหาฟันน้ำนมผุ เฉลี่ยคนละ 3 ซี่ ซึ่งสาเหตุของการเกิดฟันผุเนื่องจากเด็กชอบรับประทานอาหารรสหวานอยู่เสมอรวมทั้งผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กขาดการเอาใจใส่ดูแลช่องปากและฟันของเด็กจึงทำให้เกิดปัญหาฟันน้ำนมผุตามมา จากปัญหาดังกล่าวส่งผลให้เด็กก่อนวัยเรียนภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศรีวิชัยในช่วงวัย 2-5 ปี มีสุขภาพช่องปากที่ควรส่งเสริมให้ทันตสุขภาพเข้ามาดูแลนอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพของเด็กในขณะนั้นแล้ว ยังมีผลเสียต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตด้วย กล่าวคือ ฟันน้ำนมที่เสีย ถูกถอน หรือหลุดไปก่อนที่ฟันแท้จะขึ้นแทนที่ จะทำให้ฟันที่อยู่ติดกันรวน เก ล้ม เอียง เข้าหาช่องว่าง ทำให้ฟันแท้ที่จะขึ้นแทนตำแหน่งนั้นไม่สามารถขึ้นได้อย่างปกติ อาจจะขึ้นมาในลักษณะบิด ซ้อนกันหรือมีขนาดใหญ่ ไม่เหมาะสมกับใบหน้าของเด็ก ซึ่งจะเป็นปมด้อยทำให้เด็กไม่กล้าในการแสดงออก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กอายุ 2-5 ปี
- เพื่อให้เด็กได้แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
- เพื่อให้เด็กได้ใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมการแปรงฟัน
- กิจกรรมการแปรงฟัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 69 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศรีวิชัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
- เด็กดูแลสุขภาพช่องปากได้ถูกวิธี
3. สามารถนำปัญหาสุขภาพช่องปากที่พบไปแก้ไขปัญหาร่วมกับเจ้าหน้าที่ รพ.สต.
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมการแปรงฟัน |
||
วันที่ 4 มกราคม 2565กิจกรรมที่ทำขั้นเตรียมการ
1. ดำเนินการประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน
2. ประชุมให้ความรู้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง เด็กนักเรียน และกรรมการสถานศึกษา โดยวิทยากรเรื่องสุขภาพช่องปาก
3. จัดเตรียมความพร้อมของวัสดุอุปกรณ์ต่างๆในการดำเนินโครงการ
ขั้นดำเนินการ
1. กิจกรรมการให้ความรู้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง นักเรียน เจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปากของนักเรียน โดยวิทยากรเรื่องสุขภาพช่องปาก
1.1 ประชุมครูผู้ดูแลเด็ก พ่อแม่ผู้ปกครอง คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ เจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ
1.2 จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย เช่น โมเดลฟันผุ โมเดลฟันสวย แปรงสีฟัน แก้วน้ำ ยาสีฟัน ภาพเด็กฟันผุเนื่องจากดูแลสุขภาพช่องปากไม่ถูกวิธี เป็นต้น
1.3 จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนโดยวิทยากร 1 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.เด็กอายุ 2-5 ปี ลดการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 75 2.เด็กได้แปรงฟัน ร้อยละ 100 3.เด็กได้ใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ร้อยละ 100
|
69 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ขั้นเตรียมการ 1.ดำเนินการประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน 2.ประชุมให้ความรู้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง เด็กนักเรียน และกรรมการสถานศึกษา โดยวิทยากร เรื่องสุขภาพช่องปาก 3.จัดเตรียมความพร้อมของวัสดุอุปกรณ์ต่างๆในการดำเนินโครงการ ขั้นดำเนินการ 1.กิจกรรมการให้ความรู้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง นักเรียน เจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปากของนักเรียน โดยวิทยากรเรื่องสุขภาพช่องปาก 1.1 ประชุมครูผู้ดูแลเด็ก พ่อแม่ผู้ปกครอง คณะกรรมการบริหารศูนย์ เจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ 1.2 จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย เช่น โมเดลฟันผุ โมเดลฟันสวย แปรงสีฟันแก้วน้ำ ยาสีฟัน ภาพเด็กฟันผุเนื่องจากดูแลสุขภาพช่องปากไม่ถูกวิธี เป็นต้น 1.3 จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนโดยวิทยากร 1 คน 2.กิจกรรมการแปรงฟัน 2.1 วิทยากรนำอุปกรณ์ในการแปรงฟันขึ้นมาแนะนำชื่ออุปกรณ์ประกอบด้วย แปรงสีฟัน 1 ด้าม ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ 1 หลอด โมเดลฟันปลอม 1 ชุด แก้วน้ำ 1 ใบ น้ำสะอาด 1 แก้ว 2.2 วิทยากรนำยาสีฟันขึ้นมาโดยให้นักเรียนสังเกตว่ายาสีฟันที่ใช้ต้องผสมฟลูออไรด์ด้วย ยาสีฟันควรเลือกที่มีความเข้มข้นของฟลูออไรด์เหมาะสมกับช่วงวัยของผู้ใช้ สังเกตได้บนบรรจุภัณฑ์ของยาสีฟัน ผลที่เกิดจากโครงการ 1.เด็กอายุ 2-5 ปี ลดการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 75 2.เด็กได้แปรงฟัน ร้อยละ 100 3.เด็กได้ใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ร้อยละ 100
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กอายุ 2-5 ปี ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 2-5 ปี ลดการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 75 |
75.00 | 75.00 | เด็กอายุ 2-5 ปี ลดการเกิดโรคฟันผุ |
|
2 | เพื่อให้เด็กได้แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ตัวชี้วัด : เด็กได้แปรงฟัน ร้อยละ 100 |
100.00 | 100.00 | เด็กได้แปรงฟัน |
|
3 | เพื่อให้เด็กได้ใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ตัวชี้วัด : เด็กได้ใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ร้อยละ 100 |
100.00 | 100.00 | เด็กได้ใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 69 | 69 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 69 | 69 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กอายุ 2-5 ปี (2) เพื่อให้เด็กได้แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน (3) เพื่อให้เด็กได้ใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการแปรงฟัน (2) กิจกรรมการแปรงฟัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการยิ้มสดใสเด็กเล็กฟันแข็งแรง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L8402-3-20
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางวราลักษณ์ ปิยปัญญาธิวัฒน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......