กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ”
ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นายสมบัติ กุลกิจ




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ ปีงบประมาณ พ.ศ.2563

ที่อยู่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63 -L1515- 05–04 เลขที่ข้อตกลง 037/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 กันยายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ ปีงบประมาณ พ.ศ.2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63 -L1515- 05–04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 กันยายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หนังสือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองมวน ที่ ตง 0932.1.5.2/377 ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2563 เรื่อง รายงานสถานการณ์การระบาดของโรคไข้เลือดออก เดือน กรกฎาคม – สิงหาคม 2563        เพื่อดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออก มิให้มีการแพร่ระบาด
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ เป็นพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก มีอัตราการป่วยมีแนวโน้มสูงขึ้น โดยจะพบการระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากในช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน ของทุกปี ซึ่งเป็นช่วงฤดูฝน และพบว่าประชากรที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมากที่สุด ได้แก่ กลุ่มเด็กวัยเรียนที่มีอายุตั้งแต่    5 – 14 ปี และปัจจุบันยังพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในผู้ใหญ่อีกด้วย จากสถานการณ์การระบาดของโรคไข้เลือดออก  ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม ถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2563 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองมวน มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก เดือนกรกฎาคม ผู้ป่วยสะสมรวม 2 ราย อัตราป่วย 67.65 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต แบ่งเป็นหมู่ที่ 1 จำนวน 1 ราย และ หมู่ที่ 8 จำนวน 1 ราย เดือนสิงหาคม ผู้ป่วยสะสมรวม 11 ราย อัตราป่วย 372.12 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต แบ่งเป็นหมู่ที่ 1 จำนวน 2 ราย หมู่ที่ 2 จำนวน 2 ราย หมู่ที่ 7 จำนวน 2 ราย และ หมู่ที่ 8 จำนวน 5 ราย (ข้อมูลจากระบบรายงาน การเฝ้าระวังโรค 506 รพ.สต.คลองมวน วันที่ 31 สิงหาคม 2563) จากสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกดังกล่าว จะเห็นได้ว่าการระบาดของโรคไข้เลือดออกมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ยังอยู่ในสถานการณ์ที่น่าเป็นห่วง จำเป็นจะต้องได้รับการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ และมีทรัพยากรในการควบคุมโรคเพียงพอ พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีหน้าที่ต้องทำในเขตพื้นที่รับผิดชอบภายใต้กฎหมาย ตามมาตรา 67 (3) ป้องกันและระงับโรคติดต่อ พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะ    เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ตามมาตรา 16 (19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล ประกอบกับระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยค่าใช้จ่ายเพื่อช่วยเหลือประชาชนตามอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2560 และที่แก้ไขเพิ่มเติม กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการหรือสนับสนุนให้มีการป้องกัน ควบคุม การแพร่และการระงับการระบาดของโรค
  ดังนั้น งานสาธารณสุข สำนักงานปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ จึงได้จัดทำ “โครงการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ ปีงบประมาณ พ.ศ.2563” ขึ้น เพื่อให้การดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกเป็นไปอย่างต่อเนื่อง สามารถหยุดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ป้องกันความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในเขตความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ ตามอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 2.1 เพื่อการควบคุมโรคไข้เลือดออกให้ทันเวลาภายหลังได้รับการแจ้ง โดยการกำจัดยุงลายพาหนะนำโรคอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
  2. 2.2 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. -กิจกรรมดำเนินการควบคุมโรคโดยการพ่นหมอกควัน และรณรงค์ให้ใช้ทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย แก่บ้านผู้ป่วย/ชุมชน/วัด/โรงเรียน/ศพด./พื้นที่ที่เกิดโรคไข้เลือดออก และในบริเวณรัศมี 100 เมตร เมื่อมีการระบาดของโรคให้ทันเวลา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.1 สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็วทันเวลาหลังได้รับการแจ้ง เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาดในพื้นที่ตำบลหนองปรือ
7.2 อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. -กิจกรรมดำเนินการควบคุมโรคโดยการพ่นหมอกควัน และรณรงค์ให้ใช้ทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย แก่บ้านผู้ป่วย/ชุมชน/วัด/โรงเรียน/ศพด./พื้นที่ที่เกิดโรคไข้เลือดออก และในบริเวณรัศมี 100 เมตร เมื่อมีการระบาดของโรคให้ทันเวลา

วันที่ 14 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

3.1 ประชุมวางแผนร่วมกันกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์จำนวนกลุ่มเป้าหมายเนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ และติดต่อประสานงานหน่วยงาน/ผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันดำเนินงาน 3.2 จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 3.3 จัดหาน้ำยาพ่นหมอกควัน และทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย ให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงานเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก 3.4 ดำเนินงานโครงการฯ โดยมีกิจกรรมดังต่อไปนี้
-กิจกรรมดำเนินการควบคุมโรคโดยการพ่นหมอกควัน และรณรงค์ให้ใช้ทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย แก่บ้านผู้ป่วย/ชุมชน/วัด/โรงเรียน/ศพด./พื้นที่ที่เกิดโรคไข้เลือดออก และในบริเวณรัศมี 100 เมตร เมื่อมีการระบาดของโรคให้ทันเวลา
3.5 ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสถานการณ์ และแจ้งให้ประชาชนทราบเป็นระยะผ่านช่องทางต่างๆ 3.6 สรุปผลการดำเนินงาน และรายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนในพื้นที่ที่มีภาวะเสี่ยง พื้นที่ตำบลหนองปรือ (บ้านผู้ป่วย/ชุมชน/วัด/โรงเรียน/ศพด./พื้นที่ที่เกิดโรคไข้เลือดออก และในบริเวณรัศมี 100 เมตร) ได้รับการดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกเป็นไปอย่างต่อเนื่อง สามารถหยุดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 2.1 เพื่อการควบคุมโรคไข้เลือดออกให้ทันเวลาภายหลังได้รับการแจ้ง โดยการกำจัดยุงลายพาหนะนำโรคอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ตัวชี้วัด : 1.องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกให้ทันเวลาภายหลังได้รับการแจ้ง ร้อยละ 100
0.00

 

2 2.2 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ
ตัวชี้วัด : 2. ประชากรพื้นที่ตำบลหนองปรือ มีอัตราเพิ่มของโรคไข้เลือดออกลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อการควบคุมโรคไข้เลือดออกให้ทันเวลาภายหลังได้รับการแจ้ง โดยการกำจัดยุงลายพาหนะนำโรคอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (2) 2.2 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) -กิจกรรมดำเนินการควบคุมโรคโดยการพ่นหมอกควัน และรณรงค์ให้ใช้ทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย แก่บ้านผู้ป่วย/ชุมชน/วัด/โรงเรียน/ศพด./พื้นที่ที่เกิดโรคไข้เลือดออก และในบริเวณรัศมี 100 เมตร เมื่อมีการระบาดของโรคให้ทันเวลา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63 -L1515- 05–04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมบัติ กุลกิจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด