กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามเหนือ


“ โครงการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้า (AED) ”

ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายวิสุทธิ์ บุญชัย

ชื่อโครงการ โครงการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้า (AED)

ที่อยู่ ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2563-L1494-2-24 เลขที่ข้อตกลง 10/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้า (AED) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้า (AED)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้า (AED) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2563-L1494-2-24 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 มีนาคม 2563 - 31 มีนาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,486.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรในประเทศไทยโดยส่วนใหญ่เกิดจากโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจและหลอดเลือด เช่น โรคหัวใจ ความดันโลหิต และอุบัติเหตุ/การจมน้ำ ผู้ป่วยหรือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บเหล่านี้อาจมีอาการที่ปิดปกติเกิดขึ้นกับร่างกาย หรือบางรายอาจมีภาวะการหยุดหายใจกะทันหัน ถ้าปล่อยไว้นานเกิน 4 นาที แม้จะช่วยให้ฟื้นคืนชีพกลับมาได้ ก็จะเกิดสภาวะการตายของสมองอย่างถาวรทำให้มีความพิการร่างได้   ดังน้ัน การอบรมหลักสูตรปฐมพยาบาล การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน การใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้า ที่ถูกต้อง ถูกวิธี ทันท่วงทีจึงเป็นที่สำคัญซึ่งจะทำให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในการช่วยเหลือถูกต้อง จะทำให้ผู้รับบาดเจ็บมีโอกาสรอดชีวิตก่อนนำส่งโรงพยาบาลและกลับคืนมาใช้ชีวิตเป็นปกติได้ รพ.สต.นาท่ามเหนือ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว โดยประชาชนจำเป็นต้องมีความรู้และทักษะในการประเมิน การช่วยเหลือเบื้องต้นและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้า ได้เข้าใจถูกต้อง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นภายใต้ความร่วมมือจากทีมผู้เชี่ยวชาญโรงพยาบาลตรังสนับสนุนให้ความรู้ในครั้งนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ในการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้า
  2. เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมสามารถประเมินและมีทักษะใน 9 ให้การปฐมพยาบาลเยบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพได้ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดเตรียมสถานที่พร้อมลงทะเบียนเอกสารแก่ผู้เข้าอบรม
  2. วิทยากรให้ความรู้เรื่องช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้า
  3. วิทยากรแบ่งฐานย่อย 2 กลุ่ม ฝึกปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้า

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 51
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพ เบื้องต้น และการใช้เครื่องมือกระตุกไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง
  2. กลุ่มเป้าหมายสามารถประเมินคนไข้และมีทักษะในการช่วยเหลือกฟื้นคืนชีพ (เบื้องต้น) และการใช้เครื่องมือกระตุกไฟฟ้าได้ถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดเตรียมสถานที่พร้อมลงทะเบียนเอกสารแก่ผู้เข้าอบรม

วันที่ 25 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดเตรียมสถานที่ พร้อมลงทะเบียน แจกเอกสารแก่ผู้เข้าอบรม ประกอบด้วย
1. สมุดโน๊ต 51 เล่ม ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 1530 บาท 2. แฟ้มกระดุม 51 เล่ม ๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 1020 บาท 3. ปากกา 51 เล่ม ๆ ละ 6 บาท เป็นเงิน 306 บาท
ณ อาคารเอนกประสงค์เทศบาลตำบลคลองเต็ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้รับผิดชอบโครงการได้จัดการผู้เข้าอบรมทั้งหมด 51 คน มาอบรมครบจำนวน 51 คน

 

51 0

2. วิทยากรให้ความรู้เรื่องช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้า

วันที่ 25 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

เชิญวิทยากรให้ความรู้เรื่องช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้อบรมได้รับฟังการให้ความรู้และมีความเข้าใจในเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพ

 

51 0

3. วิทยากรแบ่งฐานย่อย 2 กลุ่ม ฝึกปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้า

วันที่ 25 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

วิทยากรแบ่งฐานย่อย 2 กลุ่มฝึกปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้อบรมได้มีการฝึกปฏิบัติการปฐมพยาบาลเบื้องต้น การฟื้นคืนชีพและการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้า

 

51 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผลการดำเนินงาน     ผู้รับผิดชอบได้ดำเนินงานโครงการดังกล่าว ได้จัดการผู้เข้าอบรมทั้งหมด 51 คน มาอบรมครบจำนวน 51 คน โครงการนี้ ได้บรรลุตามหมายและวัตถุประสงค์ดังนี้     1 ผู้อบรมได้รับฟังการให้ความรู้และมีความเข้าใจในเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าครบ 100 %     2. ผู้อบรมได้มีการฝึกปฏิบัติ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การฟื้นคืนชีพ และการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าให้การปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้ถูกต้องทุกคนครบถ้วน 100%
  2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด   2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์   2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 51 คน
  3. การเบิกจ่ายงบประมาณ   งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ  18486 บาท   งบประมณเหลือส่งคืนกองทุนฯ 18486 บาท
  4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน   ไม่มี ข้อเสนอแนะ     ในการจัดอบรมโครงการนี้มีการใช้เครื่องมือกระตุกไฟฟ้า ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นในการช่วยฟื้นคืนชีพแต่ไม่มีเครื่องมือในตำบลนาท่ามเหนือ ควรมีการจัดตั้งงบประมาณซื้อ เครื่องมือ และจัดตั้งไว้ ณ จุดเสี่ยง เช่น ตลาด หรืออาคารเอนกประสงค์

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ในการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้า
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าร้อยละ 80
80.00 100.00

 

2 เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมสามารถประเมินและมีทักษะใน 9 ให้การปฐมพยาบาลเยบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรม มีทักษะในการปฏิบัติการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าร้อยละ 100
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 51 51
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 51 51
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ในการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้า (2) เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมสามารถประเมินและมีทักษะใน 9 ให้การปฐมพยาบาลเยบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพได้ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดเตรียมสถานที่พร้อมลงทะเบียนเอกสารแก่ผู้เข้าอบรม (2) วิทยากรให้ความรู้เรื่องช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้า (3) วิทยากรแบ่งฐานย่อย 2 กลุ่ม ฝึกปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้า

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้า (AED) จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2563-L1494-2-24

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวิสุทธิ์ บุญชัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด