กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ”

ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายธนิต มูสิกปาละ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2563-L3306-1-08 เลขที่ข้อตกลง 62/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 กันยายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2563-L3306-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 กันยายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย เป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญระดับประเทศ โดยในแต่ละปีมีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคปวดข้อยุงลายเป็นจำนวนมาก และบางรายมีอาการรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต ทำให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม รัฐบาลได้เล็งเห็นความสำคัญและได้นำปัญหาโรคไข้เลือดออกมากำหนดเป็นนโยบายหลักในการดำเนินงาน และได้กำหนดให้โรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายเป็นตัวชี้วัดหนึ่งในการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข โดยที่สถานบริการสุขภาพทุกแห่งจะต้องร่วมมือกับองค์กรชุมชนเพื่อดำเนินการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายให้คลอบคลุมทุกพื้นที่อย่างต่อเนื่อง       สำหรับสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจากรายงานทางระบาดวิทยา ๕ ปี ย้อนหลัง สำหรับเขตพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคู พบว่า ปี พ.ศ.๒๕๕๘ มีรายงานผู้ป่วย จำนวน ๑ ราย คิดเป็นอัตราป่วย เท่ากับ ๑๘.๔๕ ต่อแสนประชากร โดยไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ มีรายงานผู้ป่วย จำนวน ๔๐ ราย คิดเป็นอัตราป่วย เท่ากับ ๗๒๘.๘๖ ต่อแสนประชากร โดยไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต ปี พ.ศ.๒๕๖๐ มีรายงานผู้ป่วย จำนวน ๑๔ ราย คิดเป็นอัตราป่วย เท่ากับ ๒๕๖.๔๑ ต่อแสนประชากร โดยไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต ปี พ.ศ.๒๕๖๑ มีรายงานผู้ป่วย จำนวน ๒ ราย คิดเป็นอัตราป่วย เท่ากับ ๓๗.๐๔ ต่อแสนประชากร โดยไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต และ ปี พ.ศ.๒๕๖๒ มีรายงานผู้ป่วย จำนวน ๔ ราย คิดเป็นอัตราป่วย เท่ากับ ๗๓.๓๑ ต่อแสนประชากร โดยไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต ซึ่งจะเห็นได้ว่าเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคู ในปี ๒๕๕๙ เกิดขึ้นมากที่สุด มีอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกใกล้เคียงกับอัตราป่วยของอำเภอกงหราที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เกณฑ์ที่กำหนดคือ อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ลดลงร้อยละ ๒๐ ของค่ามัธยฐานของอัตราป่วยย้อนหลัง ๕ ปี อัตราป่วยไม่เกิน ๘๐ ต่อแสนประชากรต่อปี และเกณฑ์สำคัญที่นำมาพิจารณาคือ ค่าร้อยละของครัวเรือนที่พบลูกน้ำยุงลาย (HI) ไม่เกินร้อยละ ๑๐ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ ของจำนวนหมู่บ้าน/ชุมชน ทั้งหมด และโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มัสยิด ปลอดลูกน้ำยุงลาย (CI=๐) ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคู จึงเล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญ ของปัญหาดังกล่าว จึงจำเป็นต้องมีการควบคุมโรคให้รวดเร็ว ให้ทันต่อสภาวการณ์แพร่ระบาดของโรค แต่จากการดำเนินงานควบคุมโรคนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคู ยังขาดอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน คือเครื่องพ่นกำจัดยุงตัวแก่ เพื่อตัดวงจรการแพร่เชื้อโรคจากยุงที่อาจมีเชื้อและนำไปสู่คนอื่นต่อไป ดังนั้น เพื่อความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างทันท่วงที โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคู จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย โดยการจัดการซื้อครุภัณฑ์เครื่องพ่นละอองฝอย (ULV) สะพายหลัง เพื่อใช้ในการกำจัดยุงตัวแก่ไม่ให้สามารถไปแพร่เชื้อ ซึ่งเป็นวิธีการยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ในกรณีเกิดโรคในพื้นทื่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  2. เพื่อให้มีเครื่องมือเครื่องใช้ในการปฏิบัติงานควบคุมโรคฯ ที่พร้อมในการใช้งานอย่างรวดเร็วและทันท่วงที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดซื้อครุภัณฑ์
  2. กิจกรรมการป้องกันโรคล่วงหน้า
  3. กิจกรรมการควบคุมโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว ๒. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายของ รพ.สต.บ้านคูลดลง และมีการควบคุมการระบาดของโรคอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่มีการระบาด (Second generation case)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดซื้อครุภัณฑ์

วันที่ 12 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดหาเครื่องพ่นละอองฝอย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เครื่องพ่นละอองฝอย  จำนวน 1 เครื่อง

 

0 0

2. กิจกรรมการป้องกันโรคล่วงหน้า

วันที่ 14 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

พ่นยาในโรงเรียน และ ศพด. ก่อนเปิดเทอม ปีละ 2 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โรงเรียน  ศพด.  ได้รับการพ่นยา ป้องกันการเกิดโรค

 

0 0

3. กิจกรรมการควบคุมโรค

วันที่ 14 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

หากมีการเกิดโรคดำเนินการเข้าควบคุมทันที

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ยังไม่มีการเกิดโรค

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้มีเครื่องมือเครื่องใช้ในการปฏิบัติงานควบคุมโรคฯ ที่พร้อมในการใช้งานอย่างรวดเร็วและทันท่วงที
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (2) เพื่อให้มีเครื่องมือเครื่องใช้ในการปฏิบัติงานควบคุมโรคฯ ที่พร้อมในการใช้งานอย่างรวดเร็วและทันท่วงที

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้อครุภัณฑ์ (2) กิจกรรมการป้องกันโรคล่วงหน้า (3) กิจกรรมการควบคุมโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2563-L3306-1-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายธนิต มูสิกปาละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด