กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม


“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) โรงเรียนบ้านป่าแก่ ”

ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายธาดา เจริญฤทธิ์

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) โรงเรียนบ้านป่าแก่

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2563-L3306-2-051 เลขที่ข้อตกลง 61/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) โรงเรียนบ้านป่าแก่ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) โรงเรียนบ้านป่าแก่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) โรงเรียนบ้านป่าแก่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2563-L3306-2-051 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,355.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดเชื้อโคโรนา (COVID – 19) ซึ่งย่อมาจาก “Coronavirus disease 2019” เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ล ที่ระบาดเมื่อปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลันปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มลฑลหูเป่ย ประเทศจีน จากที่ผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวัดใหญ่เป็นจำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนไข้เหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและได้พบว่าเป็นเชื้อไวรันสายพันธุ์ใหม่ ชื่อว่า ไวรัสโคโรน่า ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ 7 ที่ถูกค้นพบ เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์สและเมอร์ส         ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 30 ธันวาคม 2562 - วันที่ 23 มีนาคม 2563 กระทรวงสาธารณสุข แถลงว่า ประเทศไทยผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อรายใหม่เพิ่มขึ้น ทำให้จำนวนผู้ป่วยสะสมอยู่ที่ 721 ราย รักษาหายดีจนกลับบ้านได้แล้ว 52 ราย ยังอยู่ในการดูแลของแพทย์ จำนวน 669 ราย และมีผู้เสียชีวิต 1 ราย นายทีโดรส อัดฮานอม กีบเรเยซุส ผู้อำนวยการใหญ่องค์การอนามัยโลก (WHO) กล่าวถึงสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ว่า โลกกำลังเข้าสู่ “ดินแดนที่ไม่เคยเผชิญมาก่อน” และอธิบายว่าประชาคมโลกยังไม่เคยเผชิญกับโรคทางเดินหายใจที่ติดต่อในชุมชนได้เช่นนี้ แต่เชื่อว่ามาตรการที่ถูกต้องจะสามารถรับมือการแพร่ระบาดครั้งนี้ได้         และเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2563 นายกู้เกียรติ วงศ์กระพันธ์  ผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง เปิดเผยว่า สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด – 19 จังหวัดพัทลุง จากการส่งผลตรวจทางห้องปฏิบัติการจำนวน 125 ราย พบว่ามีกลุ่มผู้สัมผัสที่ไม่มีอาการสะสม 18 ราย ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนโรคสะสม 107 ราย ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการทั้งหมด 125 รายนั้น ไม่พบเชื้อ 111 ราย และพบติดเชื้อ 14 ราย ซึ่งการรักษาผู้ป่วยอยู่ในโรงพยาบาล 8 ราย รักษาหายและกลับบ้านแล้ว 6 ราย โดยจากการแถลงการณ์ดังกล่าว ตำบลคลองเฉลิม ซึ่งเป็นพื้นที่เสี่ยงมีผู้ติดเชื้อไวรัสโควิท – 19 มากที่สุด จำนวน 5 ราย ของจังหวัดพัทลุงนั้น ผู้นำชุมชน ผู้นำหมู่บ้าน ผู้นำตำบล ต่างหามาตรการในการป้องกันเพิ่มเติมจากประกาศของจังหวัดพัทลุง โดยมีหมู่บ้านเกือบทุกหมู่บ้านของอำเภอกงหราปิดห้ามเข้า ออก ผู้ที่เข้า ออก ต้องได้รับอนุญาตจากผู้นำหมู่บ้านเท่านั้นขณะผ่านจุดตรวจสวมหน้ากากอนามัยและต้องวัดไข้ทุกราย หากพบไข้สูงต้องไปพบเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อตรวจเช็คอาการก่อนเข้าหมู่บ้าน         ทั้งนี้ โรงเรียนบ้านป่าแก่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2 ซึ่งเป็นพื้นที่เสี่ยงในการติดเชื้อ ดังนั้นจึงจัดโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตนในการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) และเพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID – 19) แก่เด็กในโรงเรียนบ้านป่าแก่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการปฎิบัติตนในการป้องกันการติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  2. เพื่อคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID – 19) แก่นักเรียนในโรงเรียนบ้านป่าแก่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. จัดซื้อวัสดุ/ครุภัณฑ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กได้มีความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตนในการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID – 19)
  2. ป้องกัน และควยคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID – 19) แก่นักเรียนในโรงเรียนบ้านป่าแก่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 21 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อบรมให้ความรู้

 

0 0

2. จัดซื้อวัสดุ/ครุภัณฑ์

วันที่ 21 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อวัสดุ/ครุภัณฑ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สบู่สำหรับล้างมือ 11 ขวด เจลล้างมือสำเร็จรูป 11 ขวด เครื่องวัดอุณหภูมิแบบอินฟาเรด 2 เครื่อง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการปฎิบัติตนในการป้องกันการติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ครูและเด็กมีความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตนในการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (สวมหน้ากาก ล้างมือ เว้นระยะห่าง)
0.00

 

2 เพื่อคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID – 19) แก่นักเรียนในโรงเรียนบ้านป่าแก่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 สามารถป้องกันโดยการสวมหน้ากาก ล้างมือ เว้นระยะห่าง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID – 19) แก่นักเรียนในโรงเรียนบ้านป่าแก่
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการปฎิบัติตนในการป้องกันการติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) เพื่อคัดกรอง  เฝ้าระวัง  ป้องกัน  และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID – 19)  แก่นักเรียนในโรงเรียนบ้านป่าแก่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) จัดซื้อวัสดุ/ครุภัณฑ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) โรงเรียนบ้านป่าแก่ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2563-L3306-2-051

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายธาดา เจริญฤทธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด