กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเหาหายสบายหัว ”
ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางวารัตดา อินนุรักษ์




ชื่อโครงการ โครงการเหาหายสบายหัว

ที่อยู่ ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2563-L1494-2-5 เลขที่ข้อตกลง 11/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเหาหายสบายหัว จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเหาหายสบายหัว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเหาหายสบายหัว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2563-L1494-2-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2563 - 30 เมษายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,240.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เหาเป็นแมลงในกลุ่มปรสิต อาศัยอยู่บนร่างกายคน และดำรงชีวิตด้วยการกินขี้ไคลบนหนังศรีษะของคนเรา เหามีมากกว่า 3,000 ชนิด ซึ่งบางส่วนเป็นปรสิตที่อยู่ในสัตว์ แต่ที่เป็นชนิดที่อยู่ในคนนั้นมีเพียงแค่ 3 ชนิด ได้แก่ เหาที่อยู่บนศรีษะ เหาที่เกาะอยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และเหาที่บริเวณอวัยวะเพศ หรือโลน โดยเหาแต่ละชนิดจะอาศัยอยู่บริเวณต่าง ๆ ของร่างกาย อาทิ เช่น บนศรีษะ บนร่างกาย และบริเวณอวัยวะเพศ เหาสามารถแพร่กระจายจากคนสู่คนได้ โดยการอยู่ใกล้ชิดและคลุกคลีกับผู้ที่เป็นโรคเหา จึงทำให้ผู้ที่เป็นโรคเหานั้นมักจะถูกสังคมรังเกียจ ซึ่งอาการที่มักจะพบได้จากคนที่เป็นเหา คือ อาการคันและเป็นแผลติดเชื้อบนหนังศรีษะ อันเนื่องมาจากการระคายเคือง นอกจากนี้เหาชอบงางไข่เอาไว้ตามเส้นผมของเราจนทำให้เป็นจุดขาว ๆ ตามเส้นผม แถมยังเกาะแน่นอีกด้วย โดยจะไม่หลุดไป ถึงแม้ว่าจะหายเป็นเหาแล้วก็ตาม โรคเหาเป็นโรคที่พบกันบ่อยมากในกลุ่มเด็กวัยเรียนระดับประถมศึกษา จากการตรวจสุขภาพ จากการตรวจสุขภาพประจำวันของเด็กประจำปี 2562 ในโรงเรียนบ้านบางยาง พบว่า เด็กผู้หญิงเป็นเหาจำนวนมาก โดยประมาณ 40 คน ซึ่งโรคเหานับเป็นโรคที่น่ารังเกียจ สำหรับคนทั่วไปนอกจากก่อให้เกิดความรำคาญกับผู้ที่เป็นเนื่องจากมีอาการคันศรีษะแล้วยังทำให้เสียสมาธิในการเรียน เสียบุคลิกภาพ และยังเป็นพาหนะนำไปติดผู้อื่นต่อไป วิธีการรักษาเหา จะต้องทำการรักษาผู้ที่อยู่ใกล้ชิดควบคุ่กันไป โดยต้องทำการควบคุมไม่ให้เหาแพร่กระจาย และป้องกันไม่ให้เกิดการติดเหาซ้ำโดยใช้ตัวยาเป็นแชมพูสมุนไพรแบบอ่อนโยนและการใช้หวีกำจัดเหา ซึ่งวิธีการรักษาเหาในรูปแบบดังกล่าวเป็นวิธีการที่ทำได้ง่าย และเห็นผลชัดเจน ดังนั้น ผู้จัดทำโครงการจึงคิดว่าจะมีการจัดทำโครงการ เหาหายสบายหัว ขึ้นในโรงเรียนโดยเริ่มจากกลุ่มเด็กอนุบาลจนถึงเด็กชั้นประถมศึกษา เพื่อให้นักเรียนรู้จักดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายได้ถูกต้อง ลดปริมาณของนักเรียนที่เป็นโรคเหาทำให้นักเรียนมีสมาธิในการเรียนมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. นักเรียนผุ้หญิงที่เป็นเหาโรงเรียนบ้านบางยางได้รับการกำจัดเหาที่ถูกต้อง
  2. ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจวิธีการป้องกันและกำจัดเหา
  3. นักเรียนมีสุขอนามัยที่ดี มีสมาธิในการเรียนและมีบุคลิกภาพที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง
  2. กิจกรรมการหมักเหาด้วยแชมพู

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนผู้หญิงที่เป็นเหาโรงเรียนบ้านบางยางได้รับการกำจัดเหาที่ถูกต้อง
  2. ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจวิธีการป้องกันและกำจัดเหา
  3. นักเรียนมีสุขอนามัยที่ดี มีสมาธิในการเรียนและมีบุคคลิกภาพที่ดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมวางแผนการจัดทำโครงการ
  2. เสนอโครงการเพื่อการอนุมัติ
  3. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  4. ดำเนินงานตามโครงการ 4.1 จัดประชุมคณะครูที่เข้าร่วมโครงการ 4.2 ส่งแบบฟอร์มกำจัดเหาให้คุณครูประจำชั้นเพื่อสำรวจหานักเรียนที่เป็นโรคเหา 4.3 จัดซื้อแชมพูยากำจัดเหาและอุปกรณ์ 4.4 จัดทำหนังสือเชิญผู้ปกครองให้เข้ามาร่วมโครงการเหาหายสบายหัวเพื่ออบรมวิธีดูแลรักษาร่างกายให้สะอาดและวิธีดูแลรักษาโรคเหาร่วมกับนักเรียนที่เป็นโรคเหา 4.5 จัดการอบรมให้ความรู้เกี่ยวเรื่องเหาวิธีกำจัดดูแลรักษาเหาแก่นักเรียนกลุ่มเป้าหมายและผู้ปกครอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มนักเรียนมีเหาลดลง

 

80 0

2. กิจกรรมการหมักเหาด้วยแชมพู

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

4.1 จัดซื้อแชมพูยากำจัดเหาและอุปกรณ์ 4.2 จัดทำหนังสือเชิญผู้ปกครองให้เข้ามาร่วมโครงการเหาหายสบายหัวเพื่ออบรมวิธีดูแลรักษาร่างกายให้สะอาดและวิธีดูแลรักษาโรคเหาร่วมกับนักเรียนที่เป็นโรคเหา 4.3 จัดการอบรมให้ความรู้เกี่ยวเรื่องเหาวิธีกำจัดดูแลรักษาเหาแก่นักเรียนกลุ่มเป้าหมายและผู้ปกครอง 4.4 สาธิตวิธีกำจัดเหาและกำจัดเหานักเรียนพร้อมทั้งชี้แจงผู้ปกครองทำความเข้าใจเกี่ยวกับห้วงเวลาการกำจัดเหาให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย (โดยทำติดต่อกันจำนวน 3 ครั้ง ห่างกัน 1 สัปดาห์) 4.5 แจกแชมพูกำจัดเหาและอุปกรณ์ให้ผู้ปกครองเด็กกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้การกำจัดเหาเป็นไปอย่างต่อเนื่อง 4.6 คณะกรรมการสภานักเรียนฝ่ายอนามัยโรงเรียนให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องเหาหน้าเสาธงสัปดาห์ละ 1 ครั้ง/มอบรางวัลแก่นักเรียนที่มีปริมาณเหาลดลงทุกสัปดาห์ 4.7 ติดตามผลโดยครูประจำขัันทุกสัปดาห์เป็นเวลา 1เดือน 4.8 ประเมินผลสรุปและรายงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนไม่เป็นเหามีสมาธิในการเรียนและมีบุคคลิกดีขึ้น

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ในการดำเนินงานมีผลปรากฎเป็นที่น่าพอใจ สังเกตได้จากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดูแลสุขภาพผมของนักเรียน โดยแยกการประเมินจากโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้ 1. กิจกรรมให้ความรู้เรื่อโรคเหา 1.1 วัตถุประสงค์   1) เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับโรคเหา   2) เพื่่อให้นักเรียนและผู้ปกครองรู้จักวิธีการป้องกันและรักษาโรคเหา 1.2 วิธีการดำเนินการ   1) อบรมเชิงปฏิบัติการผลเสียจากการเป็นเหา และวิธีกำจัดเหา ภายใต้โครงการ "เหาหาย สบายหัว"   2) การหมักเหาด้วยแชมพูกำจัดเหาที่ปลอดภัย   3) กิจกรรมการตรวจติดตามผล การกำจัดเหา โดยครูประจำชั้น   4) กิจกรรมหารให้ความรู้และมอบรางวัลแก่นักเรียนที่มีเหาลดลงหรือเหาหมดไปในเวลา 1 เดือน   5) สรุปผลรายงานผล 1.3 เครื่องมือการประเมิน   แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ร่วมกิจกรรม 1.4 ผลการดำเนินงาน   การดำเนินงานได้รับความสนใจและร่วมมือจากผู้ปกครองและนักเรียนเป็นอย่างดี นักเรียนระดับชั้นอนุบาล-ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 40 คน ผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 40 คน ผู้ปกครองนักเรียนและนักเรียนมีระดับความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมมากที่สุดร้อยละ 94.25

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 นักเรียนผุ้หญิงที่เป็นเหาโรงเรียนบ้านบางยางได้รับการกำจัดเหาที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 80 มีเหาลดลง
80.00 80.00

 

2 ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจวิธีการป้องกันและกำจัดเหา
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 สามารถกำจัดเหาให้นักเรียนได้
80.00 80.00

 

3 นักเรียนมีสุขอนามัยที่ดี มีสมาธิในการเรียนและมีบุคลิกภาพที่ดี
ตัวชี้วัด : นักเรียนไม่เป็นเหา มีสมาธิในการเรียนและมีบุคลิกภาพดีขึ้น
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40 40
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) นักเรียนผุ้หญิงที่เป็นเหาโรงเรียนบ้านบางยางได้รับการกำจัดเหาที่ถูกต้อง (2) ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจวิธีการป้องกันและกำจัดเหา (3) นักเรียนมีสุขอนามัยที่ดี มีสมาธิในการเรียนและมีบุคลิกภาพที่ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง (2) กิจกรรมการหมักเหาด้วยแชมพู

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเหาหายสบายหัว จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2563-L1494-2-5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวารัตดา อินนุรักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด