กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารคีรี


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคติดต่อ ”

ตำบลธารคีรี อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางฮาซียะ เงาะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคติดต่อ

ที่อยู่ ตำบลธารคีรี อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคติดต่อ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลธารคีรี อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารคีรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคติดต่อ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคติดต่อ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลธารคีรี อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,771.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารคีรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ ในหลายประเทศล้วนมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งจะต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเฉพาะเด็กระดับปฐมวัย ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สติปัญญา และสังคม เด็กในวัยนี้ถ้าจะได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม มีการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน และมีการส่งเสิรม พัฒนาการที่ดีในแต่ละด้านรวมถึงการมีสุขภาพดีไม่เจ็บไม่ป่วย ก็จะทำให้เด็กๆ นั้นมีความสุขและเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคตในปัจจุบันมีเด็กอายุต่ำกว่า ๕ ปี เป็นเด็กก่อนวัยเรียน เข้าศึกษา ในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลซึ่งเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่รวมกันเป็นจำนวนมาก เมื่อเจ็บป่วยไม่สบายจะสามารถแพร่เชื่อโรคติดต่อสู่กันได้ง่าย เด็กเล็กมีภูมิต้านทานต่ำจะป่วยได้บ่อย โรคที่พบบ่อย ได้แก่ โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ โรคมือเท้าปาก โรคไข้หวัด โรคไข้เลือดออก โรคผิวหนัง โรคเหา เป็นต้น ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการและสุขภาพ โดยรวมของเด็ก การระบาดของโรคมือ เท้า ปาก อาจต้องปิดโรงเรียน มีค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ผู้ปกครองต้องหยุดงาน เพื่อดูแลเด็กที่บ้าน ทำให้ขาดรายได้จึงจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับการดำเนินงานด้านการเฝ้าระวัง การป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็กให้มีประสิทธิภาพ ศูนย์เด็กเล็กก่อนเกณฑ์บ้านหาดทรายได้เล็งเห็น ความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็กจึงได้จัดทำโครงการศูนย์เด็กเล็ก ปลอดโรคติดต่อ เพื่อให้เด็กมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง มีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัยและยัง เป็นการเตรียมความพร้อมรับมือกับการป้องกันการระบาดของโรคติดต่อในเด็กซึ่งอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาและป้องกันโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์เด็กเล็ก ให้ครู ผู้ปกครอง และผู้เข้ารับการอบรม ๒. เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อต่างๆ ให้ลดลง ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการและสุขภาพที่ดี ๓. เพื่อส่งเสริมการจัดสิ่งแวดล้อมในศูนย์เด็กเล็กที่เอื้อต่อสุขภาพอนามัยของเด็กและได้รับการยอมรับจากผู้ปกครองให้เป็นศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ๔. เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปาก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 44
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ครู ผู้ปกครองและผู้เข้าร่วมอบรมให้ความสนใจและมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาและส่งเสริม   สุขภาพป้องกันโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์เด็กเล็กกมากขึ้น ๒. เด็กนักเรียนภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหาดทรายมีสุขภาพที่ดีและแข็งแรงเหมาะสมตามวัย ๓. สภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดีขึ้น ได้รับการยอมรับจากผู้ปกครองให้เป็นศูนย์ที่ปลอดโรค


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาและป้องกันโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์เด็กเล็ก ให้ครู ผู้ปกครอง และผู้เข้ารับการอบรม ๒. เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อต่างๆ ให้ลดลง ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการและสุขภาพที่ดี ๓. เพื่อส่งเสริมการจัดสิ่งแวดล้อมในศูนย์เด็กเล็กที่เอื้อต่อสุขภาพอนามัยของเด็กและได้รับการยอมรับจากผู้ปกครองให้เป็นศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ๔. เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปาก
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาและป้องกันโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้ดียิ่งขึ้น ร้อยละของการเจ็บป่วยของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลดน้อยลง ร้อยละของผู้ปกครองมีความพึงพอใจศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ร้อยละปัญหาจากภาวะโรคมือเท้าปากได้รับการดูแลรักษา
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 44
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 44
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาและป้องกันโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์เด็กเล็ก ให้ครู ผู้ปกครอง และผู้เข้ารับการอบรม ๒. เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อต่างๆ ให้ลดลง ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการและสุขภาพที่ดี ๓. เพื่อส่งเสริมการจัดสิ่งแวดล้อมในศูนย์เด็กเล็กที่เอื้อต่อสุขภาพอนามัยของเด็กและได้รับการยอมรับจากผู้ปกครองให้เป็นศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ๔. เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปาก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคติดต่อ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางฮาซียะ เงาะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด