กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย


“ โครงการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ดอนทราย ”

ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
งานเลขากองทุน อบต.ดอนทราย

ชื่อโครงการ โครงการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ดอนทราย

ที่อยู่ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ดอนทราย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ดอนทราย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ดอนทราย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 72,548.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แผนสุขภาพชุมชน หมายถึง แผนงานด้านสุขภาพของประชาชนโดยประชาชน เพื่อประชาชนเป็นกระบวนการที่ชุมชนมีส่วนร่วมคิด(participation) ร่วมค้นหา(search) ร่วมเรียนรู้ (knowledge)ร่วมกำหนดทิศทาง ร่วมจัดกิจกรรมการพัฒนาและร่วมรับผลประโยชน์ โดยเริ่มจากการคัดเลือกแกนนำ การทบทวนงานในอดีตเพื่อกำหนดอนาคตการสำรวจข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สภาพปัญหา และการประเมินศักยภาพของชุมชน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือให้เกิดการทบทวนตนเอง โดยคำนึงถึงศักยภาพ ทรัพยากร ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมในชุมชนรวมทั้งแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นตามศักยภาพของชุมชน กระตุ้นประชาชนให้เกิดความกระตือรือร้นในการพัฒนาชุมชนของตัวเอง ตลอดจนให้ความร่วมมือกับกิจกรรมด้านสุขภาพ และร่วมติดตามประเมินผล โดยสามารถขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกได้ และเนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพส่วนใหญ่เป็นปัญหาด้านพฤติกรรมของบุคคลที่มีสาเหตุมาจากปัจจัยหลายด้านที่ผสมผสานกัน อันได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลที่มาจากพันธุกรรม เจตคติ ความรู้ และความเข้าใจปัจจัยด้านครอบครัว ชุมชน สังคม วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ซึ่งการแก้ไขจะต้องใช้กลวิธีดำเนินงานในหลายวิธีและใช้ระยะเวลาในการดำเนินงานที่ต่อเนื่อง โดยอาศัยความร่วมมือของทุกภาคส่วนและบุคคลที่เป็นเจ้าของสุขภาพ
ดังนั้น เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนบรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีระบบการจัดทำข้อมูล    มีการจัดทำแผนงานที่ใช้เป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาและกำหนดทิศทางการดำเนินงานในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่หน่วยบริการ ประชาชน และภาคีที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาให้เกิดสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบต่อไป จากความสำคัญของการทำแผนสุขภาพชุมชน กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนทราย  โดยมติที่ประชุมครั้งที่ 4/2562 เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2562เห็นชอบในหลักการให้จัดทำโครงการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน เพื่อให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการในการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน





ซึ่งกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนทราย จะนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนกิจกรรมด้านการพัฒนาสุขภาพของประชาชนให้มีสุขภาวะที่ดีอย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 2.1 เพื่อให้ทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน
  2. 2.2 เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่
  3. 2.3 เพื่อนำมาใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาและกำหนดทิศทางการดำเนินงานในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่หน่วยบริการสุขภาพประชาชน และภาคีที่เกี่ยวข้อง
  4. 2.4 เพื่อรับฟังปัญหาความต้องการของประชาชนในพื้นที่ในการส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู เกี่ยวกับสุขภาพ
  5. 2.5 เพื่อนำโครงการ/กิจกรรมจากสมัชชาสุขภาพมาประกอบการพิจารณาในแผนสุขภาพชุมชน
  6. 2.6 เพื่อจัดทำแผนสุขภาพในระดับชุมชนประจำปีงบประมาณ 2563

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน อบต.ดอนทราย
  2. ค่าประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน อบต.ดอนทราย
  3. ค่าพัฒนาศักยภาพ คณะกรรมการกองทุน
  4. ค่าจัดทำแผน (เวทีประชาคม)
  5. ค่าจัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์เพื่อการดำเนินงานกองทุน
  6. ค่าประชุมอนุกรรมการ LTC

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนทราย มีแผนพัฒนาสุขภาพและแผนปฏิบัติการ เพื่อใช้เป็นแนวทางการบริหารกองทุนฯ 2) ประชาชนจากทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ 3) ประชาชนตำบลดอนทราย ได้รับสิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานในการเข้าถึงการบริการสุขภาพอย่างเสมอภาค


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน อบต.ดอนทราย

วันที่ 7 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน จำนวน 4 ครั้ง
ครั้งที่ 1  วันที่ 7/1/2563 ครั้งที่ 2 วันที่ 18 มีนาคม 2563 ครั้ังที่3 26 มิถุนายน 2563      ครั้งที่4 24 กันยายน 2563

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พิจารณา อนุมัติ ติดตาม การดำเนินงานกองทุน

 

19 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 2.1 เพื่อให้ทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2.2 เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 2.3 เพื่อนำมาใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาและกำหนดทิศทางการดำเนินงานในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่หน่วยบริการสุขภาพประชาชน และภาคีที่เกี่ยวข้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 2.4 เพื่อรับฟังปัญหาความต้องการของประชาชนในพื้นที่ในการส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู เกี่ยวกับสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 2.5 เพื่อนำโครงการ/กิจกรรมจากสมัชชาสุขภาพมาประกอบการพิจารณาในแผนสุขภาพชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

6 2.6 เพื่อจัดทำแผนสุขภาพในระดับชุมชนประจำปีงบประมาณ 2563
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อให้ทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน (2) 2.2 เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่ (3) 2.3 เพื่อนำมาใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาและกำหนดทิศทางการดำเนินงานในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่หน่วยบริการสุขภาพประชาชน และภาคีที่เกี่ยวข้อง (4) 2.4 เพื่อรับฟังปัญหาความต้องการของประชาชนในพื้นที่ในการส่งเสริม  ป้องกัน  รักษา  ฟื้นฟู  เกี่ยวกับสุขภาพ (5) 2.5 เพื่อนำโครงการ/กิจกรรมจากสมัชชาสุขภาพมาประกอบการพิจารณาในแผนสุขภาพชุมชน (6) 2.6 เพื่อจัดทำแผนสุขภาพในระดับชุมชนประจำปีงบประมาณ 2563

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน อบต.ดอนทราย (2) ค่าประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน อบต.ดอนทราย (3) ค่าพัฒนาศักยภาพ คณะกรรมการกองทุน (4) ค่าจัดทำแผน (เวทีประชาคม) (5) ค่าจัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์เพื่อการดำเนินงานกองทุน (6) ค่าประชุมอนุกรรมการ LTC

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ดอนทราย จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( งานเลขากองทุน อบต.ดอนทราย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด