กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี


“ เยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทัน รู้จักเลี่ยง ไม่เสี่ยงเอดส์ ”

ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮัสนี ดอเลาะ

ชื่อโครงการ เยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทัน รู้จักเลี่ยง ไม่เสี่ยงเอดส์

ที่อยู่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3070-2-6 เลขที่ข้อตกลง 9/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"เยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทัน รู้จักเลี่ยง ไม่เสี่ยงเอดส์ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทัน รู้จักเลี่ยง ไม่เสี่ยงเอดส์



บทคัดย่อ

โครงการ " เยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทัน รู้จักเลี่ยง ไม่เสี่ยงเอดส์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3070-2-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,915.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเอดส์ เป็นโรคที่เป็นปัญหาสำคัญทางการสาธารณสุขของประเทศ และส่วนใหญ่พบว่า มีการระบาดของโรคเอดส์  ในกลุ่มวัยรุ่น เนื่องจากเป็นวัยอยากรู้อยากลอง ติดเพื่อนมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย และอารมณ์ ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ ย่อมส่งผลกระทบต่อตัวเด็กวัยรุ่น และจากสภาพสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง สื่ออนาจาร และความรุนแรงควบคุมได้ยาก ส่งผลให้กลุ่มวัยรุ่นมีความอยากรู้อยากลอง มีการคบกันแบบแฟนในช่วงอายุน้อย ขาดความยับยั้งชั่งใจ ส่งผลให้เกิดผลกระทบตามมาในหลายด้าน เช่น ปัญหาตั้งครรภ์ในวัยเรียน ปัญหาติดเชื้อโรคทางเพศสัมพันธ์ ปัญหาต้องออกนอกระบบการศึกษา ปัญหายาเสพติด ฯลฯ โดยเฉพาะโรคเอดส์  ในเด็กวัยรุ่น เป็นปัญหาที่สำคัญ และร้ายแรง เพราะโรคเอดส์เป็นโรคติดต่อที่รับเชื้อเข้าสู่ร่างกายจะทำให้ป่วยเป็นโรคนี้ตลอดชีวิตไม่มียารักษาให้หายขาดได้ การรักษาต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาสูง และเป็นที่น่ารังเกียจของบุคคลทั่วไป ซึ่งปัจจัยเหล่านี้จึงเป็นสาเหตุที่ต้องมีการส่งเสริมความรู้ให้แก่เด็กวัยรุ่นในการเรียนรู้ที่จะเข้าใจ ป้องกันตนเอง และมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากเอดส์ตลอดจนการสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
จากสภาพปัญหาดังกล่าว สภาเด็กและเยาวชนตำบลยาบี ได้ตระหนักถึงความสำคัญ ในการส่งเสริมความรู้เรื่องโรคเอดส์ ในการป้องกันโรคให้แก่เด็กและเยาวชนในตำบลยาบี ด้านการป้องกันตนเอง และผู้อื่น จึงได้มีการจัดทำโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทัน รู้จักเลี่ยง ไม่เสี่ยงเอดส์ ขึ้น โดยจัดให้มีการดำเนินกิจกรรมต่างๆ อาทิ เช่น การอบรมให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน ในการป้องกันโรคเอดส์ ให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์ และเพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชน รวมถึงประชาชนทั่วไปในพื้นที่ตำบลยาบีมีสุขภาพดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหา โรคเอดส์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเอดส์ในพื้นที่ตำบลยาบี
  2. 2.เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจเรื่องการป้องกันตนเองและมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคเอดส์ ตลอดจน การสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม และสามารถส่งต่อให้กับเพื่อนๆ หรือบุคคลใกล้ชิดได้
  3. 3.เพื่อลดการติดเชื้อรายใหม่ในพื้นที่ตำบลยาบี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายเรื่องปัญหาและป้องกันโรคเอดส์
  2. 2.กิจกรรมออกเยี่ยมบ้านให้กำลังใจผู้ติดเชื้อโรคเอดส์ในพื้นที่ตำบลยาบี
  3. 3.กิจกรรมเดินรณรงค์ให้ความรู้การป้องกันโรคเอดส์ ในพื้นที่ตำบลยาบี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชน และประชาชนในตำบลยาบีมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเอดส์ในพื้นที่ตำบลยาบี
  2. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องปัญหา และการป้องกันโรคเอดส์
  3. จำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ในพื้นที่ตำบลยาบีมีจำนวนลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายเรื่องปัญหาและป้องกันโรคเอดส์

วันที่ 30 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.1 กิจกรรมย่อย แบ่งกลุ่มย่อยระดมความคิดเห็นการป้องกันและแก้ปัญหาโรคเอดส์ ในชุมชนตำบลยาบี 1.2 กิจกรรมย่อย เพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อแก้ไขปัญหาเอดส์กิจกรรมกลุ่มย่อย เพื่อให้เด็กกลุ่มเป้าหมายเป็นแกนนำในการแนะนำเพื่อนให้ห่างไกลจากโรคเอดส์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมได้รับการเข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้
1. เด็กและเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหา  โรคเอดส์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเอดส์ในพื้นที่ตำบลยาบี 2. เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการป้องกันตนเองและมี พฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคเอดส์ ตลอดจน การสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม และสามารถส่งต่อให้กับเพื่อนๆ หรือบุคคลใกล้ชิดได้รู้สาเหตุของการเกิดโรคเอดส์ วิธีการป้องกันโรคเอดส์
3. ไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ในพื้นที่ตำบลยาบี

 

50 0

2. 2.กิจกรรมออกเยี่ยมบ้านให้กำลังใจผู้ติดเชื้อโรคเอดส์ในพื้นที่ตำบลยาบี

วันที่ 30 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

2.1กิจกรรมย่อย
คัดเลือกแกนนำเยาวชนที่มีความ สนใจออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเอดส์ในพื้นที่ตำบลยาบี เพื่อให้ กำลังใจในการดำเนินชีวิตต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กและเยาวชน และประชาชนในตำบลยาบีมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเอดส์ในพื้นที่ตำบลยาบี
  2. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องปัญหา และการป้องกันโรคเอดส์
  3. จำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ในพื้นที่ตำบลยาบีมีจำนวนลดลง

 

0 0

3. 3.กิจกรรมเดินรณรงค์ให้ความรู้การป้องกันโรคเอดส์ ในพื้นที่ตำบลยาบี

วันที่ 30 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

3.1 กิจกรรมเดินรณรงค์ให้ความรู้การป้องกันโรคเอดส์  ในโอกาสต่างๆ ร่วมกับชุมชนและประชาชนในตำบลยาบี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กและเยาวชน และประชาชนในตำบลยาบีมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเอดส์ในพื้นที่ตำบลยาบี
  2. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องปัญหา และการป้องกันโรคเอดส์
  3. จำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ในพื้นที่ตำบลยาบีมีจำนวนลดลง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การจัดกิจกรรมโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทัน รู้จักเลี่ยง ไม่เสี่ยงเอดส์ โดยมีกิจกรรมสันทนาการเพื่อละลายพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย กิจกรรมอบรม ให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายเรื่องปัญหาและป้องกันโรคเอดส์ จัดกิจกรรมระดมความคิดเห็นการป้องกันและแก้ปัญหาโรคเอดส์ในชุมชนตำบลยาบี จัดกิจกรรมออกเยี่ยมบ้านให้กำลังใจผู้ติดเชื้อโรคเอดส์ในพื้นที่ตำบลบี ออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเอดส์ในพื้นที่ตำบลยาบี เพื่อให้กำลังใจในการดำเนินชีวิต กลุ่มเป้าหมายเด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน โดยได้รับการสนับสนุนวิทยากรจากองค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี มาบรรยายให้ความรู้ในเรื่องสาเหตุการเกิดโรคเอดส์ และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเอดส์ การอยู่ร่วมกันในสังคมของผู้ป่วยเอดส์ และวิธีการการป้องกันโรคเอดส์

สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมได้รับการเข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้
1. เด็กและเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหา  โรคเอดส์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเอดส์ในพื้นที่ตำบลยาบี 2. เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการป้องกันตนเองและมี พฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคเอดส์ ตลอดจน การสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม และสามารถส่งต่อให้กับเพื่อนๆ หรือบุคคลใกล้ชิดได้รู้สาเหตุของการเกิดโรคเอดส์ วิธีการป้องกันโรคเอดส์
3. ไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ในพื้นที่ตำบลยาบี

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหา โรคเอดส์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเอดส์ในพื้นที่ตำบลยาบี
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 50 คน เข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาป้องกันและแก้ปัญหาโรคเอดส์ โดยเป็นสื่อประชาสัมพันธ์ให้คนในพื้นที่ตระหนัก เกรงกลัวในโรคเอดส์
100.00 100.00

 

2 2.เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจเรื่องการป้องกันตนเองและมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคเอดส์ ตลอดจน การสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม และสามารถส่งต่อให้กับเพื่อนๆ หรือบุคคลใกล้ชิดได้
ตัวชี้วัด : 2.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 50 คนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการป้องกันตนเองจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคเอดส์ ตลอดจน การสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเอง และสามารถนำไปถ่ายทอดให้กับบุคคลอื่นได้
100.00 100.00

 

3 3.เพื่อลดการติดเชื้อรายใหม่ในพื้นที่ตำบลยาบี
ตัวชี้วัด : 3.ไม่มีผู้ติดเชื้อเอดส์รายใหม่เกิดขึ้นในพื้นที่ตำบลยาบี
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหา โรคเอดส์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเอดส์ในพื้นที่ตำบลยาบี (2) 2.เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจเรื่องการป้องกันตนเองและมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคเอดส์ ตลอดจน การสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม และสามารถส่งต่อให้กับเพื่อนๆ หรือบุคคลใกล้ชิดได้ (3) 3.เพื่อลดการติดเชื้อรายใหม่ในพื้นที่ตำบลยาบี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายเรื่องปัญหาและป้องกันโรคเอดส์ (2) 2.กิจกรรมออกเยี่ยมบ้านให้กำลังใจผู้ติดเชื้อโรคเอดส์ในพื้นที่ตำบลยาบี (3) 3.กิจกรรมเดินรณรงค์ให้ความรู้การป้องกันโรคเอดส์ ในพื้นที่ตำบลยาบี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ เยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทัน รู้จักเลี่ยง ไม่เสี่ยงเอดส์

รหัสโครงการ 63-L3070-2-6 รหัสสัญญา 9/2563 ระยะเวลาโครงการ 1 กันยายน 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

กลุ่มเด็กเเละเยาวชน มีความรู้ความเข้าใจเรื่องป้องกันโรคเอดส์เเละสามารถนำไปถ่ายทอดให้กับบุคคลอื่นได้

ใบลงทะเบียนเข้ารับการฝึกอบรม

ควรที่จะมีการอบรมให้ความรู้เเก่เด็กเเละเยาวชน ในการป้องกันโรคเอดส์ ให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

-กิจกรรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ฝึกสร้างวิธีเตือนตนเองและจัดการ ตนเอง 1. ฝึกการคิดกำหนดวิธีการด้วย ตนเองหรือระดมสมองร่วมกันเป็น กลุ่มในการเตือนตนเองให้เกิดการ ปฏิบัติตนตามแนวทางที่กำหนดไว้

ใบกิจกรรมที่มีการระดมสมองร่วมกัน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

ใช้วิธีการทำเเบบมีส่วนร่วมโดยให้ชุมชนเป็นเเกน

ในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

เกิดชมรมอาสาสาธารณสุขมูลฐานตำบลยาบี ในการส่งเสริมความรู้เรื่องโรคเอดส์ ในการป้องกันโรคให้เเก่เด็กเเละเยาวชนตำบลยาบี

ชมรมในหมู่บ้านตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

ใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกวิธีทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์

ในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

การรับประทานอาหารที่สะอาด ถูกสุขหลักอนามัย การปรุงสุกใหม่ๆภายในครัวเรือน

ในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

มีการส่งเสริมให้เด็กเเละเยาวชนหันมาออกกำลังกายให้มากขึ้น

ในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

การรณรงค์ให้มีการเลิกสูบบุหรี่ เเละเลิกเหล้าในวันพระ

ในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
  • พูดคุย/เปิดใจพูดคุยเรื่องเพศกับลูกวัยรุ่น
  • ให้คำปรึกษา/ชี้แนะการตัดสินใจเรื่องเพศอย่างเหมาะสม

ในครัวเรือนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

การสร้างสิ่งเเวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ อนามัย

ในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

ส่งเสริมให้มีกิจกรรมเชิงรุก ตามจุดรวมตัวของวัยรุ่นในพื้นที่/ชุมชน

ในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

จัดบริการให้การปรึกษาเพื่อตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีด้วยความสมัครใจ ให้บริการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัส คัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และ คงอยู่ในระบบบริการสุขภาพ

ในชุมชน ตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

ฝึกการจัดการตนเอง โดยระบุการให้รางวัล/ลงโทษ ตนเองกรณีที่สามารถและไม่สามารถปฏิบัติตนตามการตัดสินใจได้

เครือข่ายในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

ร่วมดำเนินการสื่อสารสาธารณะเกี่ยวกับการป้องกัน
เอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โดยการใช้ถุงยางอนามัยอย่างต่อเนื่อง

ในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

การสอบถามโดยใช้แบบสอบถามด้วยตนเอง และวิเคราะห์ข้อมูล โดยจะต้องมีการคำนวณกลุ่ม ตัวอย่างก่อนนำข้อมูลมาวิเคราะห์ และนำข้อมูลคืนกลับให้กับพื้นที่

ในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

มีการให้วิทยากรที่มีความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์มาฝึกอบรมในโรงเรียน

โรงเรียนยาบีบรรณวิทย์

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการรณรงค์ให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันเเละเเก้ไขปัญหาโรคเอดส์

ในพื้นที่ตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

คณะทำงานมีการทำงานเเบบมีระเบียบมากขึ้นมีการ เตรียมงานก่อนปฏิบัติจริง

การทำงานในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

ไม่มีผู้ติดเชื้อเอดส์รายใหม่เกิดขึ้นในพื้นที่ตำบลยาบี

พื้นที่ตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

เด็กเเละเยาวชนมีจิตอาสา ช่วยประชาสัมพันธ์ให้คนในพื้นที่ตระหนัก เกรงกลัวในโรคเอดส์

มีคนร่วมในงานสาธารณะในชุมชนมากขึ้น

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

เยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทัน รู้จักเลี่ยง ไม่เสี่ยงเอดส์ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3070-2-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฮัสนี ดอเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด