กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการแก้ปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพกรณีเกิดโรคระบาดและภัยพิบัติ
รหัสโครงการ 64-L8302-5-2
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขฯ
วันที่อนุมัติ 24 กันยายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 31 ธันวาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 105,548.25 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนูรูดดีน สูลัยมาน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 8000 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม
80.00
2 ร้อยละประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้มาลาเรีย
20.00
3 ร้อยละประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า
80.00
4 ร้อยละเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด
30.00
5 ร้อยละประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
30.00
6 ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
5.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม

สามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(ร้อยละ)

80.00 20.00
2 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด

การแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(ร้อยละ)

30.00 30.00
3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(ร้อยละ)

30.00 25.00
4 เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า

การสามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า(ร้อยละ)

80.00 80.00
5 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้มาลาเรียระบาด

การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้มาลาเรีย (ร้อยละ)

20.00 20.00
6 เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

5.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 200 105,548.25 1 69,500.00
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 แก้ปัญหาสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม 0 21,048.25 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้มาลาเรียระบาด 0 0.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 แก้ปัญหาสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากหมอกควันไฟใหม้ป่า 0 15,000.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 แก้ปัญหาเพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด 0 0.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 แก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากจากภาวะไข้เลือดออกระบาด 0 0.00 -
22 ก.ย. 64 - 30 ธ.ค. 64 สนับสนุนการตรวจโควิด - 19 ด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) ในพื้นที่เทศบาลตำบลมะรือโบตก 200 69,500.00 69,500.00

1 ประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกแห่งทราบ ดังนี้     โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบตก     โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะโล     อาสาสมัครสาธารณสุข เทศบาลตำบลมะรือโบตก
2 เชิญวิทยากร จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร สื่อ ที่ใช้ในการอบรม
3 จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 2 รุ่น โดยวิธี     - บรรยาย     - แลกเปลี่ยนประสบการณ์     - สาธิตและฝึกปฏิบัติ     - ซักถามปัญหาในการปฏิบัติงาน 4 จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 5 ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ     - ประเมินผลจากการซักถามและการตอบข้อซักถามขณะอบรม     - ประเมินติดตามผลการปฏิบัติงานของเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)และสามารถให้การดูแลแนะนำประชาชนในชุมชนได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
2 ทีมวิทยากร หรือทีมครู ก.มีความรู้และทักษะในการจัดทำ หน้ากากอนามัย และการจัดทำน้ำยาทำความสะอาดมือแบบไม่ใช้น้ำไว้ใช้เองในครัวเรือนและสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ตลอดจนสามารถสอนวิธิการจัดทำหน้ากากอนามัย และการจัดทำน้ำยาทำความสะอาดมือแบบไม่ใช้น้ำ ให้แก่ประชาชนที่สนใจ
3 ประชาชนเกิดความตระหนักและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากตนเองและร่วมป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 ก.ย. 2563 00:00 น.