กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล


“ โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา ”

ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายสุรเดช เดเระมะ

ชื่อโครงการ โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา

ที่อยู่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5192-2-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 เมษายน 2560 ถึง 23 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5192-2-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 เมษายน 2560 - 23 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มัสยิดمَسْجِدมีความหมายทั่วไป คือสถานที่สำหรับก้มกราบอัลลอฮ์ซึ่งถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้สำหรับการละหมาดและการประกอบศาสนกิจอื่นๆเรียกมัสยิดในความหมายนี้ว่าเป็นบ้านของอัลลอฮ์ก็ได้ มัสยิดจึงเป็นองค์กรที่มีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาคนให้เป็นมนุษย์และพัฒนามุสลิมให้เป็นมุอ์มินที่สมบูรณ์ มัสยิดตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้กลายเป็นสัญลักษณ์ที่โดดเด่นของชุมชนมุสลิม และเป็นสัญลักษณ์ที่สามารถบ่งบอกถึงความเจริญรุ่งเรือง และความเสื่อมถอยของชุมชนนั้นๆ ได้อย่างดี การให้ความสำคัญกับมัสยิดในการมีส่วนร่วมไม่ใช่เพียงแค่เป็นสถานที่ละหมาดเท่านั้นจะต้องมีบทบาทในการพัฒนาชุมชนในด้านต่างๆตามศาสนบัญญัติอีกด้วย หมู่4, 10และหมู่ 13 ต.ลำไพล มีผู้ประชากรนับถือศาสนาอิสลามมากกว่า ร้อยละ 90 ซึ่งประเพณีทางศาสนาของมุสลิมใน ๓ หมู่บ้านมีวิถีชีวิตที่ตรงกับคำสอนของศาสนา เช่นการละหมาด ซึ่งการละหมาดก็แบ่งออกได้หลายประเภทเช่นการละหมาด๕ เวลาซึ่งการละหมาดนี้ชาวมุสลิมจะปฏิบัติเป็นศาสนกิจประจำวันทุกวัน การละหมาดอีดทั้งสองเป็นการละหมาดเนื่องในวันฮารีรายอซึ่งทุกมัสยิดจะละหมาดพร้อมกันในตอนเช้าของวันตรุษ การละหมาดญะนาซะฮฺ(جَنَازَةٌ) เป็นการละหมาดให้กับศพของผู้ที่เสียชีวิตซึ่งจะทำก่อนนำศพไปฝังไว้ที่สุสาน(กุโบร์)การละหมาดญุมอะฮเป็นการละหมาดในทุกวันศุกร์จำเป็นให้กระทำสำหรับเพศชาย ความเจ็บป่วยเป็นภาวะที่กระทบกระเทือนต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ แต่ละคนมีวิธีปรับตัวต่อ การเจ็บป่วยที่แตกต่างกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความร้ายแรงของโรค ลักษณะและวิธีการแก้ปัญหาของผู้ป่วย และสภาพแวดล้อมทางครอบครัวสังคม ภาวะจิตสังคมของผู้ป่วยเป็นสิ่งที่ชุมชนเองควรให้ความ สนใจ และให้ความช่วยเหลือตามความเหมาะสมซึ่งการที่ผู้เจ็บป่วยต้องเผชิญกับปัญหาชีวิต ย่อมมีความกังวลเป็นธรรมดา กังวลและซึมเศร้า เป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด แต่การแสดงออกอาจไม่เท่ากัน ระยะเวลาที่มีอาการสั้นหรือยาว ย่อมขึ้นอยู่กับความสามารถในการปรับตัวของผู้ป่วยและญาติดังนั้นในฐานะอิหม่ามประจำหมู่บ้านแม่ทีจึงได้จัดทำโครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพลขึ้น เพื่อพัฒนามัสยิดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพจิตและให้ชุมชนมีความรู้ในเรื่องมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วยตามหลักศาสนา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ มัสยิดเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพจิต
  2. เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ในเรื่องมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วยตามหลักศาสนา
  3. เพื่อสร้างขวัญกำลังใจแก่ญาติและตัวผู้ป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. 1.1 กิจกรรมการใช้เครื่องมือวิเคราะห์สุขภาวะชุมชนแบบมีส่วนร่วม (อสม. แกนนำชุมชน ผู้นำศาสนา ผู้สนใจ)

    วันที่ 1 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อสม.แกนนำชุมชนและผู้นำศาสนา ประชุมร่วมกันเพื่อวิเคราะห์สุขภาวะชุมชน

     

    30 32

    2. 1.2 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านศาสนาและการช่วยเหลือด้วยกองทุนญานาซะห์ - การอบรมฝึกการอ่านญาซีนและเรียนรู้หลักศาสนา ในมัสยิดทุกวันศุกร์ จำนวน 4 ครั้ง

    วันที่ 1 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อบรมฝึกการอ่านญาซีนและเรียนรู้หลักศาสนา ในมัสยิดทุกวันศุกร์ จำนวน 4 ครั้ง

     

    30 30

    3. 1.3 เยี่ยมผู้เจ็บป่วย ผู้ป่วยระยะสุดท้าย และญาติผู้เสียชีวิต ร่วมกับผู้นำศาสนา อสม. เจ้าหน้าที่ PCU.3 ทั้ง 3 หมู่บ้าน

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้นำศาสนา อสม. เจ้าหน้าที่ PCU.3 ทั้ง 3 หมู่บ้าน ลงพื้นที่เยี่ยมผู้เจ็บป่วย ผู้ป่วยระยะสุดท้ายและญาติผู้เสียชีวิต

     

    30 55

    4. 2.1 การจัดประชุมปรึกษาหารือเรื่องการจัดตั้งกองทุน 2 ครั้ง

    วันที่ 1 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการจัดประชุมเพื่อปรึกษาหารือร่วมกันกับประชาชนในหมู่บ้านเรื่องการจัดตั้งกองทุน จำนวน 2 ครั้ง

     

    20 60

    5. 3.1 ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

    วันที่ 18 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมสรุปผลการดำเนินงานร่วมกันเพื่อวิเคราะห์จุดเด่นและจุดด้อยของโครงการ

     

    20 60

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    มีการจัดกิจกรรมอบรมและการฝึกอ่านญาซีนและเรียนรู้หลักศาสนา เพื่อให้ประชาชนใช้มัสยิดเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพจิต รวมทั้งมีการตั้งกองทุนญานาซะห์และเยี่ยมบ้านระยะสุดท้าย และนำเงินจากกองทุนญานาซะห์มามอบให้ญาติผู้เสียชีวิตและชุมชนมีความรู้ด้านมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วยอีกด้วย อีกทั้งผู้ป่วยและญาติได้รับการเยี่ยมบ้าน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ มัสยิดเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพจิต
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ประชาชนใช้มัสยิดเป็นแหล่งเรียนด้านสุขภาพจิต

     

    2 เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ในเรื่องมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วยตามหลักศาสนา
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ชุมชนมีความรู้ด้านมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วย

     

    3 เพื่อสร้างขวัญกำลังใจแก่ญาติและตัวผู้ป่วย
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยและญาติ ได้รับการเยี่ยมบ้านอย่างน้อย ๑ ครั้ง/ปี

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ มัสยิดเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพจิต (2) เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ในเรื่องมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วยตามหลักศาสนา (3) เพื่อสร้างขวัญกำลังใจแก่ญาติและตัวผู้ป่วย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L5192-2-2

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสุรเดช เดเระมะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด