กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการ 4 ด้านของเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมเกม ”

ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจันทร์เพ็ญ จริงจิตร

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการ 4 ด้านของเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมเกม

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L6961-2-03 เลขที่ข้อตกลง 7/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 มกราคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการ 4 ด้านของเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมเกม จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการ 4 ด้านของเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมเกม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการ 4 ด้านของเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมเกม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L6961-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 31 มกราคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,275.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 467 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตลอด 2-3 ปี ที่ผ่านมา มีการศึกษาวิจัยปัญหาพัฒนาการเด็กจากหลายหน่วยงาน รวมถึงสมาคมอนุบาลศึกษาแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ฯ และสำนักบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ ซึ่งศึกษารวบรวมข้อมูลความรู้ งานวิจัยทั้งในและต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหา พบว่า ต้นเหตุปัญหาพัฒนาการเด็กในสังคมไทย น่าจะเกิดจาก “การมุ่งเน้นส่งเสริมความ “ฉลาด” ด้วยความไม่เข้าใจธรรมชาติการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย และไม่รู้หลักในการพัฒนาสมองที่ถูกต้อง” ไม่ว่าจะเป็น การเร่งเรียนเขียนอ่านเกินวัย, การปลูกฝังวินัยเด็กผิดวิธี, การยัดเยียดเรียนหลายภาษาตั้งแต่ลูกยังพูดไม่ได้, การให้เด็กใช้เทคโนโลยีมากเกินขอบเขตรวมถึงการพาเด็กไปกวดวิชา ที่ส่งผลกระทบด้านลบต่อเด็กมากขึ้นทุกขณะ ดังนั้นเพื่อช่วยให้เด็กพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพ พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู หรือผู้ดูแลเด็กในทุกส่วน จึงควรตระหนักเสมอถึงแนวทางการพัฒนาเด็กที่เหมาะสมกับวัย ไม่ใช่มุ่งเน้นให้เด็กเป็นคนเก่งอย่างเดียวเท่านั้น แต่ควรมีเป้าหมาย ให้เด็กเป็นได้ทั้ง คนดี คนเก่ง และมีความสุข จึงจะเติบโตเป็นพลเมืองที่ดีของสังคมได้ ซึ่งแนวทางการพัฒนาเด็กที่เหมาะสมที่สุด คือ การพัฒนาแบบองค์รวม เน้นการพัฒนาเด็กทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และสังคม สติปัญญาไปพร้อมกัน เพราะทุกอย่างโยงใยสัมพันธ์ต่อกันทั้งหมด สำหรับครู โรงเรียน และสถาบันการศึกษา ควรเน้นพัฒนาทั้งสุขภาพอนามัย การออกกำลังกาย การใช้กล้ามเนื้อทั้งมัดเล็กและมัดใหญ่การสร้างสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย ปลอดโปร่ง การเล่นสนุกทั้งอิสระและเล่นเพื่อส่งเสริมพัฒนาการ จัดการเรียนการสอนในทางสร้างสรรค์ มีสัดส่วนการเรียนรู้ในทุกด้าน ทั้งดนตรี ศิลปะ การเล่นกลางแจ้ง ไม่เน้นท่องจำ หรือมุ่งวิชาการมากเกินไป สอนเนื้อหาตรงกับวัย ไม่นำเนื้อหาเกินวัยมายัดเยียดให้เด็ก ไม่จัดการสอบหรือวัดผลที่เคร่งเครียดเกินไป ส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาผ่านกิจกรรมสนุก เป็นธรรมชาติ การร้องเต้น เล่นใช้สื่อการสอนที่เหมาะกับวัย ใช้เนื้อหาสอดคล้องกับวิถีชีวิตและสิ่งที่เด็กๆ สนใจมีสัดส่วนภาษาหลักและรองอย่างเหมาะสม สามารถใช้เทคโนโลยีประกอบการสอนได้ในลักษณะทางเลือก ไม่ใช่บังคับใช้ โดยใช้เป็นสื่อการสอนผสมผสานกับสื่ออื่นๆจัดมุมให้เด็กใช้ร่วมกันได้ นำไปสู่การเรียนรู้และฝึกแก้ปัญหาได้ ฝึกกติกาการใช้งาน รู้จักรักษาของใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการนี้โรงเรียนเทศบาล 3 (วิมุกตายนวิทยา) จึงได้จัดโครงการ “ส่งเสริมพัฒนาการ 4 ด้านของเด็กปฐมวัย” ขึ้น เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของนักเรียน ส่งเสริมให้นักเรียนสามารถคิดเป็น ทำเป็นและแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมตามวัยและส่งเสริมให้นักเรียนสามารถทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของนักเรียน
  2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนสามารถคิดเป็น ทำเป็นและแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมตามวัย
  3. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนสามารถทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เล่นอย่างไรให้มีพัฒนาการที่ดี
  2. พัฒนาการดีมีความสุข

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 467
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา 2.นักเรียนคิดเป็น ทำเป็นและแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมตามวัย 3.นักเรียนทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของนักเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 - 3 ที่มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาสมวัย
70.00 100.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนสามารถคิดเป็น ทำเป็นและแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมตามวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 - 3 ที่คิดเป็น ทำเป็นและแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมตามวัย
50.00 100.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนสามารถทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 - 3 ที่สามารถทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้
60.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 467
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 467
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของนักเรียน (2) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนสามารถคิดเป็น ทำเป็นและแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมตามวัย (3) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนสามารถทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เล่นอย่างไรให้มีพัฒนาการที่ดี (2) พัฒนาการดีมีความสุข

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมพัฒนาการ 4 ด้านของเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมเกม จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L6961-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวจันทร์เพ็ญ จริงจิตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด