กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริหารการจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาประดู่
รหัสโครงการ 64-L2981-4-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักปลัด
วันที่อนุมัติ 17 พฤศจิกายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 81,468.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอับดุลก้อเดช โต๊ะยะลา
พี่เลี้ยงโครงการ นายอับดุลก้อเดช โต๊ะยะลา
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.689,101.142place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 18 พ.ย. 2563 18 พ.ย. 2563 10,675.00
รวมงบประมาณ 10,675.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (10,675.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (81,468.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 39 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามแนวทางการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น ได้กำหนดลักษณะกิจกรรมที่จะของบประมาณสนับสนุนจากกองทุน ได้เป็น ๕ ประเภท ได้แก่ กิจกรรมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่,กิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มหรือองค์กรประชาชนในพื้นที่,กิจกรรมด้านการสาธารณสุขในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ,กิจกรรมการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่และกิจกรรมการบริหารหรือพัฒนากองทุน ฯ ให้มีประสิทธิภาพ โดยกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครสงขลา ได้รับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อใช้เป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯมาโดยตลอดตั้งแต่เริ่มดำเนินการ เพื่อให้การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพสามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพและพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนขึ้นเพื่อนำงบประมาณที่ได้รับมาบริหารจัดการกองทุน จัดเตรียมวัสดุที่จำเป็นมาใช้ในการดำเนินงานของกองทุนฯ ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อติดตามความคืบหน้าของการดำเนินงานกองทุนฯ

ตัวแทนคณะกรรมการกองทุนฯ/คณะอนุกรรมการและคณะทำงานกองทุนฯ ได้เข้าร่วมประชุม/อบรม เพื่อพัฒนาศักยภาพ จากหน่วยงานภายนอก อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง

0.00
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการบริหารกองทุนและคณะอนุกรรมการฝ่ายต่าง ๆ

การจัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ อย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง

0.00
3 เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานกองทุนฯตามระเบียบของกองทุนฯ

การใช้จ่ายดำเนินการตามระเบียบของกองทุนฯ

0.00
4 เพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนฯดำเนินการไปด้วยความเรียบร้อยและถูกต้อง

ร้อยละการดำเนินงานของกองทุนฯดำเนินการไปด้วยความเรียบร้อยและถูกต้อง

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1. เพื่อติดตามความคืบหน้าของการดำเนินงานกองทุนฯ

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการบริหารกองทุนและคณะอนุกรรมการฝ่ายต่าง ๆ

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานกองทุนฯตามระเบียบของกองทุนฯ

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 : เพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนฯดำเนินการไปด้วยความเรียบร้อยและถูกต้อง

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 ประชุมที่ปรึกษาและคณะกรรมการบริหารกองทุน 21.00 35,700.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 ประชุมคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนสุขภาพตำบล 8.00 10,400.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 ประชุมคณะอนุกรรมการLTC 10.00 6,500.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 พัฒนาศักยภาพของบุคลากรของกองทุนฯ 0.00 12,000.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 การจัดทำแผนสุขภาพและเขียนโครงการ 50.00 12,500.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 จัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์ภายในกองทุนฯ 0.00 4,368.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

1.จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ/คณะอนุกรรมการกองทุนฯ/คณะทำงานกองทุนฯหรือการประชุมอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานกองทุนฯ

2.จัดประชุม/อบรม เชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนสุขภาพชุมชน การประเมินผลโครงการ (ถอดบทเรียน)

  1. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานในโครงการที่ขอรับงบประมาณจากกองทุนฯ พร้อม สรุปผลการดำเนินงานประจำปี
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.นาประดู่สามารถดำเนินงานได้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเกิดเครือข่ายด้านการสร้างเสริมสุขภาพของชุมชนในเขตอย่างยั่งยืน 2.สามารถใช้จ่ายเงินตามประเภทกิจกรรม1 – 5ตามที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ต.ค. 2563 16:13 น.