กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรี ด้วยวิถีไทย ปี 2560 ”

ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางรอฮานีดือลง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรี ด้วยวิถีไทย ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60 – L4147 -2-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรี ด้วยวิถีไทย ปี 2560 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรี ด้วยวิถีไทย ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรี ด้วยวิถีไทย ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60 – L4147 -2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ศาสตร์การแพทย์ทางเลือกสามารถใช้ในการบำบัดอาการของโรคบางโรคได้และยังเป็นทางเลือกสำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรังบางโรคที่การแพทย์ปัจจุบันไม่สามารถบำบัดอาการและความต้องการบางอย่างของผู้ป่วยได้เพราะในความเป็นศาสตร์และศิลป์ของศาสตร์การแพทย์ทางเลือก จึงมีการใช้ยาวนานกันมาตั้งแต่สมัยโบราณจวบจนปัจจุบันก็มีการนำศาสตร์การแพทย์ทางเลือกมาใช้ในการดูแลสุขภาพมากยิ่งขึ้น การนวดฝ่าเท้า การกดจุด ถือเป็นศาสตร์การแพทย์ทางเลือกแขนงหนึ่งซึ่งสืบทอดกันมาแต่โบราณกาลเป็นการผสมผสานศาสตร์การแพทย์แผนจีนซึ่งมีผู้นิยมและให้ความสนใจในศาสตร์นี้มากขึ้นจนเป็นที่แพร่หลายทั่วไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ เมื่อการนวดฝ่าเท้าการกดจุด มีความสำคัญและบทบาทมากขึ้นดังกล่าว จึงเห็นสมควรที่จะกำหนดให้มีเกณฑ์มาตรฐานเดียวกัน เพื่อทำให้เกิดความเชื่อมั่นในด้านคุณภาพและความปลอดภัย ทั้งผู้ให้บริการและผู้รับบริการนอกจากนี้ เจตจำนงของแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ที่มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพของประชาชน ในการพึ่งตนเองในด้านการดูแลสุขภาพโดยมีเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ในการพัฒนาระบบการเรียนรู้ และการจัดการความรู้ด้านการแพทย์ทางเลือกให้มีมาตรฐานนั้น ยังเป็นสิ่งย้ำถึงภารกิจของบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพได้เป็นอย่างดี จากการสำรวจข้อมูล และรายงานการจัดเวทีประชาคมตำบลบาโงยซิแน อ.ยะหา จ.ยะลา พบว่าประชาชนมีความต้องการที่จะเรียนรู้การนวดฝ่าเท้าซึ่งเป็นการนวดอีกวิธีหนึ่งที่ประชาชนให้ความสนใจ และการนวดกดจุด เพื่อผ่อนคลายความตึงเครียด ต้องการยกระดับความสามารถของตนเองให้สามารถเป็นทางเลือกของการให้บริการได้อย่างหลากหลาย และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ดังนั้นทางกลุ่มพัฒนาเครือข่ายสตรี ตำบลบาโงยซิแน ร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงยซิแน ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพสตรี ด้วยวิถีไทย ปี 2560 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มสตรีมีความรู้ในเรื่อง การนวดเท้า การนวดกดจุด
  2. เพื่อให้กลุ่มสตรีสามารถผลิตพิมเสนน้ำได้
  3. เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพร และน้ำสมุนไพรในการป้องกัน และรักษาพยาบาลเบื้องต้น
  4. เพื่อให้ผู้เข้าอบรม รู้จักวิธีการที่จะบรรเทาความปวดเมื่อย ความเครียดของตนเองและคนใกล้ชิดได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. กลุ่มสตรีที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ในเรื่อง การนวดเท้า การนวดกดจุด ในระดับดี
    2. กลุ่มสตรีสามารถผลิตพิมเสนน้ำใช้เองได้
    3. กลุ่มสตรีมีการส่งเสริมการใช้สมุนไพร และน้ำสมุนไพรในการป้องกัน และรักษาพยาบาลเบื้องต้น
    4. ผู้เข้าอบรม รู้จักวิธีการที่จะบรรเทาความปวดเมื่อยความตึงเครียดของตนเองและคนใกล้ชิด
    5. ประชาชนตำบลบาโงยซิแน มีแหล่งเรียนรู้ด้านสมุนไพร

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้กลุ่มสตรีมีความรู้ในเรื่อง การนวดเท้า การนวดกดจุด
    ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มสตรีมีความรู้ในเรื่อง การนวดเท้า การนวดกดจุด ในระดับดี ร้อยละ 80

     

    2 เพื่อให้กลุ่มสตรีสามารถผลิตพิมเสนน้ำได้
    ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มสตรีที่ผ่านการอบรม สามารถผลิตพิมเสนน้ำได้ ร้อยละ 100

     

    3 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพร และน้ำสมุนไพรในการป้องกัน และรักษาพยาบาลเบื้องต้น
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 กลุ่มสตรีที่ผ่านการอบรม มีการใช้น้ำสมุนไพร ในการป้องกัน และส่งเสริมสุขภาพ 2. มีการบริการน้ำสมุนไพรสาธิต 1 แห่ง

     

    4 เพื่อให้ผู้เข้าอบรม รู้จักวิธีการที่จะบรรเทาความปวดเมื่อย ความเครียดของตนเองและคนใกล้ชิดได้
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้าอบรม รู้จักวิธีการที่จะบรรเทาความปวดเมื่อย ความเครียดของตนเอง ร้อยละ 80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มสตรีมีความรู้ในเรื่อง การนวดเท้า การนวดกดจุด (2) เพื่อให้กลุ่มสตรีสามารถผลิตพิมเสนน้ำได้ (3) เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพร และน้ำสมุนไพรในการป้องกัน และรักษาพยาบาลเบื้องต้น (4) เพื่อให้ผู้เข้าอบรม รู้จักวิธีการที่จะบรรเทาความปวดเมื่อย ความเครียดของตนเองและคนใกล้ชิดได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรี ด้วยวิถีไทย ปี 2560 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60 – L4147 -2-09

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางรอฮานีดือลง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด