กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง


“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสิ่งแวดล้อม ”

ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสิ่งแวดล้อม

ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L8286-3-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มิถุนายน 2561 ถึง 27 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสิ่งแวดล้อม จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสิ่งแวดล้อม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสิ่งแวดล้อม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L8286-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มิถุนายน 2561 - 27 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กปฐมวัย คือ เด็กที่มีอายุตั้งแต่ปฏิสนธิถึง 6 ปีบริบูรณ์ ซึ่งเป็นที่ทราบว่า การอบรมและเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยนั้นมีความสำคัญอย่างมาก เนื่องจากเด็กวัยนี้ต้องการการเรียนรู้ ในสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ด้านจากบิดามารดา คนรอบข้าง และสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะส่งผลให้เกิดพัฒนาการที่เป็นรากฐานของ บุคลิกภาพ อุปนิสัย และการเจริญเติบโตทั้งทางร่างกายและจิตใจ สมอง สติปัญญา ความสามารถ เพราะเด็กในช่วงตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์แม่จนถึง 4 ปี ระบบประสาทและสมองจะเจริญเติบโตในอัตราสูงสุด (ประมาณ 80 % ของผู้ใหญ่) การอบรมปลูกฝังสร้างเสริมพัฒนาการทุกด้านให้แก่เด็กปฐมวัยได้เจริญ เติบโตเต็มศักยภาพในช่วงอายุนี้ จะเป็นรากฐานที่ดีจะให้เขาเติบโตเป็นเยาวชนและพลเมืองที่ดี เฉลียวฉลาด คิดเป็น ทำเป็นและมีความสุข เด็กปฐมวัยจะมีชีวิต รอดและเติบโตได้ก็ด้วยการพึ่งพาพ่อแม่ และผู้ใหญ่ที่ทำหน้าที่คอยให้การช่วยเหลือเลี้ยงดู ปกป้องจากอันตราย หากผู้ใหญ่ให้ความรักเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด อบรมเลี้ยงดูโดยเข้าใจถึงพัฒนาการของเด็กจะช่วยส่งเสริมให้เด็กพร้อมที่จะตอบสนองความต้องการพื้นฐานที่เปลี่ยนไปตามวัยได้อย่างเหมาะสมให้เกิดคงวามสมดุลกันทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา และสังคม แล้วจะส่งผลให้เด็กจะเติบโตแข็งแรง แจ่มใส มีความมั่นคงทางใจ รู้ภาษา ใฝ่รู้และใฝ่ดี พร้อมที่จะพัฒนาตนเองในขั้นต่อไป ทำให้เป็นคนเก่งและคนดีอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและมีประโยชน์

พัฒนาการ (Development) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงด้านการทำหน้าที่ (Function) และวุฒิภาวะ (Maturation) ของอวัยวะระบบต่างๆ รวมทั้งตัวบุคคล ให้สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำสิ่งที่ยากสลับซับซ้อนมากขึ้น ตลอดจนการเพิ่มทักษะใหม่ๆ และความสามารถในการปรับตัวต่อสภาวะแวดล้อมหรือภาวะใหม่ในบริบทของครอบครัวและสังคม พัฒนาการของมนุษย์จำแนกเป็น 5 ด้านได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม จิตวิญญาณ พัฒนาการเป็นการศึกษาเรื่องลักษณะการเปลี่ยนแปลงในด้านโครงสร้างต่างๆของร่างกายที่เด็กแต่ละคนจะพัฒนาไปถึงรวมการเพิ่มของขนาดทางร่างกาย รวมถึง การเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี ในทางที่พึงปรารถนาทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย อารมณ์ ทางสังคม และทางสติปัญญา ซึ่งจะเกิดติดต่อกันไปเรื่อยๆ จากระยะหนึ่งไปสู่อีกระยะหนึ่ง เป็นการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านโครงสร้าง (Structure) และแบบแผน(Pattern) ของอินทรีย์ทุกส่วน การเปลี่ยนแปลงนี้จะก้าวหน้าไปเรื่อยๆ เป็นขั้นๆ จากระยะหนึ่งไปสู่อีกระยะหนึ่ง เพื่อที่จะไปสู่วุฒิภาวะทำให้อินทรีย์มีลักษณะและความสามารถใหม่ๆ เกิดขึ้น ซึ่งมีผลทำให้ร่างกายเจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้นเป็นลำดับ อย่างไรก็ดี คำทั้งสองนี้มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดกล่าวคือ จะมีพัฒนาการเกิดขึ้นได้นั้นย่อมต้องอาศัยความเจริญเติบโตของร่างกายเป็นพื้นฐาน มนุษย์ทุกผู้คน ถ้าไม่มีการเจริญเติบโตแล้วย่อมจะไม่มีความสามารถใดๆหรือลักษณะใหม่ใดๆ เกิดขึ้นเลย คำว่า “ความเจริญเติบโตและพัฒนาการ” มีความหมายที่คล้ายกัน คือ ความเจริญเติบโต (Growth) หมายถึง ความเปลี่ยนแปลงในด้านขนาด รูปร่าง สัดส่วน ตลอดจนกระดูกและกล้ามเนื้อ เมื่อเราพูดถึงความเจริญเติบโตของมนุษย์ จากความหมายดังกล่าวข้างต้นอาจสรุปคำว่า พัฒนาการมนุษย์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับตัวมนุษย์ทั้งในด้านร่างกาย อารมณ์ สติปัญญาและสังคมอย่างเป็นลำดับขั้น โดยการเปลี่ยนแปลงนี้ย่อมจะมีลำดับขั้นตอนของแต่ละคนแตกต่างกันออกไปในแต่ละช่วงอายุ และเมื่อร่างกายมีการเจริญเติบโตตามสัดส่วนที่ควรจะเป็นในช่วงอายุนั้นๆกระบวนการต่างๆ ที่ถึงพร้อมทั้งช่วงเวลาและ โครงสร้างทางร่างกายก็จะทำให้มนุษย์มีความสามารถที่จะกระทำได้และสามารถแสดงออกได้โดยระบบต่างๆ ของร่างกายโดยมีวุฒิภาวะเป็นตัวควบคุม โดยไม่ต้องเร่ง เมื่อร่างกายพัฒนาการถึงความสามารถทางด้านต่างๆ ก็จะเป็นได้เอง

จึงถือว่าเด็กปฐมวัย คือ ทรัพยากรบุคคลที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง การจัดให้ได้รับการศึกษา และการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยในทางที่เหมาะสมเป็นสิ่งที่มีคุณค่าถือว่าเป็นความรับผิดชอบร่วมกันของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เด็กปฐมวัยจะต้องได้รับความรัก ความอบอุ่น ความใกล้ชิด ความเข้าใจ เพื่อให้เกิดการพัฒนาไปพร้อมกันทุกด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาของเด็กแต่ละคน โดยต้องคำนึงถึงความต้องการ ความสามารถ และความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยให้เด็กได้เรียนรู้จากการสังเกต การคาดคะเน และประมวลทักษะต่างๆ จากประสบการณ์โดยตรงผ่านการเล่น การสำรวจ และการลงมือกระทำด้วยตนเองโดยผ่านกิจกรรมบูรณาการที่เหมาะสมกับพัฒนาการ (กรมวิชาการ. 2544 : 23-43) เพราะสังคมการอบรมบ่มเพาะเด็กปฐมวัยนั้น มีความสำคัญอย่างยิ่ง ในการสร้างรากฐานของความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ในก้าวย่างแรกของการเรียนรู้ โลกในศตวรรษที่ 21 ต้องการทักษะสำคัญเพื่อการก้าวสู่วิถีสุขภาวะ รวมไปถึงทักษะชีวิต ทักษะทางสังคม ทักษะการเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรมใหม่ ทักษะด้านสื่อ สารสนเทศ และเทคโนโลยี เด็กในศตวรรษที่ 21 จึงควรมีทักษะที่ยืดหยุ่น และสามารถปรับตัวได้ ริเริ่มเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีความรับผิดชอบ ตลอดจนมีภาวะผู้นำและมีความรับผิดชอบ

เมื่อเด็กในระดับปฐมวัย คือ ทรัพยากรบุคคลที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจึงเป็นสถานที่ที่เด็กๆ จะได้รับการพัฒนาในทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย จิตใจ สมอง การเรียนรู้ บุคลิกภาพ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลยะรัง ร่วมด้วยคณะกรรมการกองทุนหลักการประกันสุขภาพเทศบาลตำบลยะรัง และกองการศึกษา เทศบาลตำบลยะรัง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสิ่งแวดล้อม ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลยะรัง เด็กนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปเผยแพร่ยังกลุ่มเพื่อนตลอดจนผู้ใกล้ชิดต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสิ่งแวดล้อม จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 61-L8286-3-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด