กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนเทศบาล 4 วัดนพวงศาราม (ประเภท 2) ”
ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสุชาดา ดุลยกุล ตำแหน่งครู




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนเทศบาล 4 วัดนพวงศาราม (ประเภท 2)

ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L7884-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนเทศบาล 4 วัดนพวงศาราม (ประเภท 2) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนเทศบาล 4 วัดนพวงศาราม (ประเภท 2)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนเทศบาล 4 วัดนพวงศาราม (ประเภท 2) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L7884-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 31 มีนาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 95,329.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชกำหนดฉุกเฉิน ฉบับที่ ๓ คำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ที่ ๔/๒๕๖๓ เรื่องแนวทางปฏิบัติตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๒๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๓ โดยให้หัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินและพนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรการป้องกันโรคโดยเคร่งครัด เนื่องด้วยสถานการณ์การเกิดและระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) พบว่ามีรายงานการระบาดของโรคดังกล่าวเป็นวงกว้างในพื้นที่หลายจังหวัด อีกทั้งมีรายงานการเสียชีวิตของผู้ติดเชื้อ สถานการณ์เกิดและระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) จังหวัดปัตตานี จากข้อมูล วันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ผู้ป่วยพบเชื้อปัตตานี รายใหม่ ๐ ราย ไม่พบผู้ป่วยติดเชื้อต่อเนื่อง ๙๑ วัน ผู้ป่วยโรงพยาบาลในจังหวัดปัตตานี ๐ ราย เสียชีวิต ๑ ราย ผู้ป่วยพบเชื้อสะสม สะสม ๙๑ คน รายใหม่ ๐ คน เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่โรงเรียน จังหวัดปัตตานีได้รับแจ้งจากกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น เห็นชอบมาตรการเร่งด่วนในการป้องกันวิกฤตการณ์จากโรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ให้สถานศึกษาดำเนินการป้องกันโรคตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด เมื่อสถานศึกษากลับมาเปิดสอนตามปกติ ซึ่งการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับนักเรียนและผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๔วัดนพวงศาราม มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลนักเรียนจึงต้องมีมาตรการแก้ไขสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดในวงกว้าง
    ดังนั้นโรงเรียนเทศบาล ๔วัดนพวงศาราม เป็นสถานศึกษา ขนาดใหญ่ มีนักเรียนจำนวน ๙๐๙ คน ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน ๗๒ คน แม่ครัว ๑๐ คนจึงได้จัดทำโครงการป้องกันเฝ้าระวังโรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) เพื่อควบคุมเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ตั้งรับการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ไวรัสโคโรนา๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ให้ทันต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค โดยตั้งจุดคัดกรองบริเวณประตูทางเข้าหน้าโรงเรียน ตรวจวัดอุณหภูมิด้วยเครื่องอินฟราเรดติดตั้งอ่างล้างมือจำนวน ๕ เครื่องจัดกิจกรรมเว้นระยะทางสังคม(Social Distancing)จัดสถานที่เพื่อเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) โดยมีระยะห่าง ๑-๒ เมตร ตั้งเจลแอลกอฮอล์ล้างมือทุกจุดห้องเรียนทุกชั้นกิจกรรมให้ความรู้ รณรงค์เรื่องการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ดำเนินการผลิตสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา รับรู้ข้อมูล สถานการณ์ผ่านช่องทางต่างๆ ไวนิลประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) โปสเตอร์ให้ความรู้เรื่องวิธีการล้างมือการวาดภาพประกวดการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางในควบคุมโรค ของ กระทรวงสาธารณสุข ให้นักเรียน ครูบุคลากรทางการศึกษา สวมหน้ากากอนามัยทุกครั้ง หากไม่สวมหน้ากากอนามัย และบุคคลที่มีอุณหภูมิร่างกายสูงกว่า ๓๗.๕ องศาเซลเซียส จะไม่อนุญาตให้เข้าโรงเรียน พร้อมชี้แจงให้ทราบถึงมาตรการรักษาความปลอดภัยในการป้องกันโรคติดต่อ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่นักเรียน ครูบุคลากรทางการศึกษา แม่ครัวเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)
  2. เพื่อทำการเฝ้าระวังควบคุม และป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรองนักเรียนเพื่อเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา๒๐๑๙ (Covid-๑๙) โดยตั้งจุดคัดกรองบริเวณประตูทางเข้าหน้าโรงเรียน ตรวจวัดอุณหภูมิด้วยเครื่องอินฟราเรดติดตั้งอ่างล้างมือ
  2. กิจกรรมเว้นระยะทางสังคม (Social Distancing)จัดสถานที่เพื่อเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) โดยมีระยะห่าง ๑-๒เมตร ตั้งเจลแอลกอฮอล์ล้างมือทุกจุดห้องเรียนทุกชั้น
  3. กิจกรรมให้ความรู้ รณรงค์เรื่องการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา๒๐๑๙ (Covid-๑๙)
  4. การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางในควบคุมโรค ของ กระทรวงสาธารณสุข ให้นักเรียน ครูบุคลากรทางการศึกษา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 909
กลุ่มวัยทำงาน 82
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังโรคเชื้อไวรัสโคโรนา๒๐๑๙ (COVID-๑๙)เพื่อเฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ให้กับนักเรียน ครูและบุคลากรโรงเรียนเทศบาล ๔ วัดนพวงศาราม    ร้อยละ ๑๐๐   2. นักเรียนครูบุคลากรทางการศึกษา แม่ครัว มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดได้ ร้อยละ ๑๐๐   3. ลดความตื่นตระหนักของนักเรียน ผู้ปกครองและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรค
      4. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการดูแลรักษาสุขภาพเบื้องต้นของตนเองให้ห่างไกลโรคเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่นักเรียน ครูบุคลากรทางการศึกษา แม่ครัวเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๑๐๐ ของนักเรียน ครูบุคลากรทางการศึกษา แม่ครัวมีความเข้าใจเรื่องการป้องกันตนเอง เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)
0.00

 

2 เพื่อทำการเฝ้าระวังควบคุม และป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๑๐๐ของนักเรียน ครูบุคลากรทางการศึกษา แม่ครัวได้รับการตรวจคัดกรองโรค และมีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 991
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 909
กลุ่มวัยทำงาน 82
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่นักเรียน ครูบุคลากรทางการศึกษา แม่ครัวเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) (2) เพื่อทำการเฝ้าระวังควบคุม และป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองนักเรียนเพื่อเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา๒๐๑๙ (Covid-๑๙) โดยตั้งจุดคัดกรองบริเวณประตูทางเข้าหน้าโรงเรียน ตรวจวัดอุณหภูมิด้วยเครื่องอินฟราเรดติดตั้งอ่างล้างมือ (2) กิจกรรมเว้นระยะทางสังคม (Social Distancing)จัดสถานที่เพื่อเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙  (Covid-๑๙) โดยมีระยะห่าง ๑-๒เมตร ตั้งเจลแอลกอฮอล์ล้างมือทุกจุดห้องเรียนทุกชั้น (3) กิจกรรมให้ความรู้ รณรงค์เรื่องการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา๒๐๑๙  (Covid-๑๙) (4) การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางในควบคุมโรค ของ กระทรวงสาธารณสุข ให้นักเรียน ครูบุคลากรทางการศึกษา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนเทศบาล 4 วัดนพวงศาราม (ประเภท 2) จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L7884-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุชาดา ดุลยกุล ตำแหน่งครู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด