กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการนาโหนดร่วมใจพิชิตภัยโรคระบาด ”
ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางวิภาดา เต็มยอด หัวหน้าสำนักปลัดเทศบาล




ชื่อโครงการ โครงการนาโหนดร่วมใจพิชิตภัยโรคระบาด

ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-3357-01-001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2563 ถึง 20 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการนาโหนดร่วมใจพิชิตภัยโรคระบาด จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการนาโหนดร่วมใจพิชิตภัยโรคระบาด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการนาโหนดร่วมใจพิชิตภัยโรคระบาด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-3357-01-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2563 - 20 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 109,430.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เทศบาลตำบลนาโหนด มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัด จำนวน 4 แห่ง มีเด็กเล็กเข้ารับการจัดประสบการณ์ในศูนย์ ในปี 2564 รวมทั้งสิ้น 148 คน ซึ่งในปีที่ผ่าน ๆ มา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กประสบปัญหาการแพร่ระบาดของโรคมือเท้าปากเป็นประจำทุกปี ซึ่งในปี 2563 มีเด็กเล็กป่วยด้วยโรคมือเท้าปาก จำนวน 7 คน ทำให้ต้องทำการหยุดการเรียนการสอนส่งผลกระทบต่อสุขภาพและพัฒนาการของเด็กเล็กที่เข้ารับการจัดประสบการณ์ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จึงจำเป็นจะต้องดำเนินการป้องกันและควบคุม เพื่อไม่ให้เกิดการระบาดของโรคในปี 2564ส่วนการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ในปี 2563 มีสถานการณ์การระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลนาโหนดมีผู้ติดเชื่อ จำนวน 22 คน ซึ่งเป็นจำนวนที่ค่อนข้างสูง จำเป็นจะต้องทำการควบคุม อย่างต่อเนื่อง อีกสถานการณ์หนึ่ง คือการระบาดของโรคติดเชื้อไว้รัสโคโรนา 2019 แม้ปี 2563 ในพื้นที่ตำบลนาโหนด ยังไม่มีรายงานการเกิดโรค แต่ ณ ปัจจุบัน สภาวการณ์ การระบาดของโรคดังกล่าว ยังคงมีอยู่ จำเป็นที่จะต้องทำการเฝ้าระวังต่อไป โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีการรวมตัวของบุคคลจำนวนมาก เช่น โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด มัสยิด และที่สาธารณะต่าง ๆ
ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2498 และแก้ไขเพิ่มเติม (ถึงฉบับที่ )14 พ.ศ.2562 มาตรา 50 (4) กำหนดอำนาจหน้าที่ที่เทศบาลตำบลต้องทำในเขตเทศบาล คือ การป้องกันและระงับโรคติดต่อ
จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว เทศบาลตำบลนาโหนด โดยงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สำนักปลัดเทศบาล ได้เล็งเห็นความสำคัญ และความจำเป็นในการป้องกันและควบคุมโรคดังกล่าวข้างต้น เพื่อมิให้เกิดขึ้นในพื้นที่ตำบลนาโหนด อันจะส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของคนในตำบล จึงได้จัดทำโครงการนาโหนดร่วมใจพิชิตภัยโรคระบาด ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนเด็กเล็กที่ป่วยด้วยโรคมือเท้าปาก
  2. เพื่อลดจำนวนประชาชนที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
  3. เพื่อให้พื้นที่สาธารณะ ได้รับการควบคุมโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ และครูภัณฑ์สำหรับการป้องกันโรค
  2. กิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค
  3. กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้
  4. จัดซื้อครุภัณฑ์
  5. กิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค
  6. กิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค
  7. กิจกรรมจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ และครุภัณฑ์สำหรับป้องกันโรค
  8. กิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 148
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ป่วยด้วยโรคมือเท้าปาก ไม่เกิน 4 คน
2. ประชาชนในตำบลนาโหนด ป้วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 10 คน
3. พื้นที่เสี่ยงได้รับการควบคุม ป้องกันโรค โดยการพ่นสารเคมีกำจัดเชื้อโรค จำนวน 17 แห่ง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ และครูภัณฑ์สำหรับการป้องกันโรค

วันที่ 5 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อพัสดุ สำหรับใช้ในโครงการนาโหนดร่วมใจพิชิตภัยโรคระบาด จำนวน 7 รายการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดซื้อพัสดุสำหรับใช้ในโครงการนาโหนดร่วมใจพิชิตภัยโรคระบาด จำนวน 7 รายการ ประกอบด้วย 1.ชุด PPE จำนวน 2 ชุด ๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
2.ถุงมือยาง ขนิดกล่องละ 50 ชิ้น จำนวน 6 กล่อง ๆ ละ 280 บาท เป็นเงิน 1,680 บาท
3.หน้ากากอนามัย จำนวน 5 กล่อง ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 750 บาท
4.ทรายอะเบท ชนิดถัง บรรจุถังละ 1,250 ซอง จำนวน 1 ถัง เป็นเงิน 5,500 บาท
5.น้ำยาพ่นกำจัดยุง ขนาด 1 ลิตร จำนวน 2 ขวด ๆ ละ 1,500 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
6.น้ำยาพ้นฆ่าเชื้อโรคทั่วไป ขนาด 1 ลิตร จำนวน 2 ขวด ๆละ 1,250 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
7.ถุงดำสำหรับบรรจุขยะ 10 กก.ๆ ละ 65 บาท เป็นเงิน 650 บาท
รวม 7 รายการ เป็นเงิน 16,080 บาท

 

0 0

2. กิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมทำความสะอาดบริเวณสำนักสงฆ์โคกทรายทอง หมู่ที่ 2 ตำบลนาโหนด โดยการ ปัด กวาด ถูพื้นที่ประกอบศาสนกิจ เก็บขยะโดยรอบบริเวณอาคาร ใส่ทรายอะเบทในบริเวณพื้นที่ที่มีน้ำขัง และภาชนะที่มีน้ำขัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ทำความสะอาดบริเวณสำนักสงฆ์โคกทรายทอง หมู่ที่ 2 ตำบลนาโหนด โดยการ ปัด กวาด ถูพื้นที่ประกอบศาสนกิจ เก็บขยะโดยรอบบริเวณอาคาร ใส่ทรายอะเบทในบริเวณพื้นที่ที่มีน้ำขัง และภาชนะที่มีน้ำขัง ทำให้พื้นที่มีความสะอาด และแหล่งเพาะพันธ์เชื่อโรค ได้รับการกำจัดโดยการใส่ทรายอะเบท โดยมีพนักงานเทศบาล พนักงานจ้าง และประชาชน เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 24 คน

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกัน ควบคุมโรค จำนวน 8 รายการ งบประมาณ 88,080 บาท
2.จัดกิจกรรมทำความสะอาดพื้นที่สาธารณะ โดยการฉีดพ่นยาฆ่าเชื้อโรค ในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 8 แห่ง ๆ ละ 1 ครั้ง
3.จัดกิจกรรทำลายแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรคต่าง ๆในพื้นที่สาธารณะ จำนวน 1 แห่ง
รายละเอียดตามแบบรายงานส่วนที่ 3

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนเด็กเล็กที่ป่วยด้วยโรคมือเท้าปาก
ตัวชี้วัด : เด็กเล็กที่ป่วยด้วยโรคมือเท้าปากลดลง (คน)
3.00 0.00

ไม่มีการระบาดของโรคมือเท้าปาก

2 เพื่อลดจำนวนประชาชนที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ประชาชนที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
10.00

 

3 เพื่อให้พื้นที่สาธารณะ ได้รับการควบคุมโรค
ตัวชี้วัด : พื้นที่สาธารณะได้รับการป้องกัน ควบคุมโรค โดยการพ่นยาฆ่าเชื้อโรค (แห่ง)
17.00 8.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 248 223
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 148 148
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 75
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนเด็กเล็กที่ป่วยด้วยโรคมือเท้าปาก (2) เพื่อลดจำนวนประชาชนที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อให้พื้นที่สาธารณะ ได้รับการควบคุมโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ และครูภัณฑ์สำหรับการป้องกันโรค (2) กิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค (3) กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ (4) จัดซื้อครุภัณฑ์ (5) กิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค (6) กิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค (7) กิจกรรมจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ และครุภัณฑ์สำหรับป้องกันโรค (8) กิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการนาโหนดร่วมใจพิชิตภัยโรคระบาด

รหัสโครงการ 64-3357-01-001 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤศจิกายน 2563 - 20 กันยายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

ดำเนินการฉีดพ่นฆ่าเชื้อโรคในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 8 แห่ง ๆ ประกอบด้วย โรงเรียนบ้านนาโหนด โรงเรียนวัดหัวหมอน โรงเรียนบ้านต้นไทร โรงเรียนวัดบ่วงช้าง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโหนด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังไทรทอง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโคกว่าว และศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์มัสยิดหนูรนเอียะสาน

ภาพถ่าย

สร้างควมต่อเนื่ื่องของพื้นที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

เกิดการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

ชุมชน มีการจัดการในเรื่องของความสะอาด และการรักษาสุขภาพมากขึ้น

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

สภาพแวดล้อมในบ้านเรือน ชุมชน มีความสะอาด เรียบร้อยมากขึ้น

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการนาโหนดร่วมใจพิชิตภัยโรคระบาด จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-3357-01-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวิภาดา เต็มยอด หัวหน้าสำนักปลัดเทศบาล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด